อุจจาระร่วง diarrhea

ความหมาย

การวินิจฉัยอาการท้องเสีย

สาเหตุ

อุจจาระร่วงแบ่งเป็น 2 ชนิด

1.อุจจาระร่วงแบบเฉียบพลัน อาการอุจจาระร่วงแบบเฉียบพลัน มักเกิดจากโรคกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กอักเสบ เนื่องจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส หรือเชื้อปรสิต

2.อุจจาระร่วงแบบเรื้อรัง อาการอุจจาระร่วงที่เกิดขึ้นติดต่อกันอย่างน้อย 2 สัปดาห์ขึ้นไป จะถือเป็นอาการอุจจาระร่วงแบบเรื้อรัง

click to edit

อาการของโรคอุจจาระร่วง

อ่อนเพลีย ซึม

อาการขั้นรุนแรง ถ้าร่างกายขาดน้ำและเกลือแร่อาจทำให้เสียชีวิตได้

อาการรุนแรงหรือสาเหตุของโรคไม่ชัดเจน ต้องใช้การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม

การตรวจเลือด เพื่อหา
ความผิดปกติที่อาจเป็นสาเหตุของอาการท้องเสีย

การส่องกล้องตรวจทางเดินอาหาร

การรักษาของแพทย์

การรักษาโรคท้องร่วงในเด็ก แพทย์จะประเมินเด็กจากภาวะขาดน้ำเพื่อให้สารน้ำทดแทนและให้ยารักษาตามอาการ ในกรณีที่เด็กสามารถรับประทานได้ สามารถให้ยาผงเกลือแร่ (ORS) กลับไปรับประทานที่บ้านได้ แต่ถ้าเด็กอาเจียนมาก หรือมีภาวะขาดน้ำระดับปานกลางถึงมาก แพทย์จะให้น้ำเกลือทางหลอดเลือดดำเพื่อรักษาภาวะขาดน้ำและปรับสมดุลเกลือแร่ในเลือด และการรักษาตามอาการร่วมด้วย

การพยาบาล

การป้องกันการเกิดโรคอุจจาระร่วง

1.ดื่มน้ำสะอาด ถ้าเป็นน้ำต้มสุกจะดีที่สุด

2.ล้างมือให้สะอาด ก่อนรับประทานอาหารและหลังการใช้ห้องน้ำ

3.จาน ช้อน ถ้วย ชาม ล้างให้สะอาดก่อนใช้

4.เลือกรับประทานอาหารที่สุกใหม่ๆ
ไม่มีแมลงวันตอม และงดอาหารสุกๆ ดิบๆ

5.รับประทานผักสด ควรล้างผักหลายๆ ครั้ง ให้สะอาดก่อนรับประทาน

การรักษาภาวะขาดน้ำ

  1. การให้สารน้ำทางปาก

1.1 ใช้ reduced osmolality ORS เพื่อแก้ไขภาวะขาดน้ำในผู้ป่วยที่มีภาวะขาดน้ำในระดับน้อยถึงปานกลาง


  1. การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ

1.2 ให้ ORS ปริมาณ 50 มล. / กก. และ 100 มล. / กก. ภายใน 4 ชั่วโมงสำหรับภาวะขาดน้ำในระดับน้อยและปานกลางตามลำดับและให้ปริมาณ 10 มล. / กก. ต่อการถ่ายอุจจาระเหลวเป็นน้ำ 1 ครั้ง (ปริมาณสูงสุด 240 มล. ต่อครั้ง) ใน 1-3 วันแรกเพื่อทดแทน Concurrent loss

2.1 ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเพื่อแก้ไขภาวะขาดน้ำในผู้ป่วยที่มีภาวะขาดน้ำในระดับรุนแรงหรือมีภาวะช็อกหรือผู้ป่วยที่อาเจียนมากไม่สามารถดื่มสารละลายเกลือแร่ทางปาก (ORS) ได้หรือไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วย ORS

2.2 ในผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกให้สารน้ำ normal saline solution หรือ lactated Ringer's solution 20 มล. / กก. ภายใน 10-15 นาทีหากความดันเลือดยังไม่ปกติให้พิจารณาให้ซ้ำอีก 1-2 ครั้ง

2.3 ผู้ป่วยภาวะขาดน้ำรุนแรงที่ไม่มีภาวะช็อกให้สารน้ำเท่ากับ maintenance รวมกับ deficit (6 deficit x 10 x น้ำหนักตัว) โดยให้ normal saline solution หรือ lactated Ringer's solution ในปริมาณ 10-20 มล. / กก. / ชั่วโมงเป็นเวลา 2-4 ชั่วโมงและแก้ deficit ต่อจนครบ 24 ชั่วโมงโดยหักปริมาณสารน้ำที่ให้ไปแล้วออก

click to edit

1) มีการติดเชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทั้งทางตรงหรือรับประทานอาหารที่มีเชื้อโรคเข้าไป

เชื้อไวรัส เช่น Rota virus เป็นสาเหตุที่พบมากเป็นอันดับหนึ่ง พบในเด็กอายุ 6-24 เดือน

เชื้อแบคทีเรีย เช่น E.coli, shigella, salmonella

เชื้อฟังกัส เช่น Candida albicans
เชื้ออมีบา เช่น E.histolytiga

2)ไม่มีการติดเชื้อ

จากอาหาร เช่น ให้นมมากเกินไปหรือนมที่มีน้ำตาลมากเกินไป เริ่มอาหารชนิดใหม่แพ้อาหาร เช่น แพ้โปรตีนในนมวัว (Cow milk protein)

ขาดน้ำย่อยแลคเตส มักพบในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี

มีความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ ลําไส้ อุดตัน อักเสบ ลําไส้สั้น

คลื่นไส้ อาเจียน

ปวดท้อง

ถ่ายเหลว 3 ครั้ง หรือเป็นน้ำ 1 ครั้งขึ้นไป

กรณีที่อาการของโรคไม่รุนแรง

ซักถามประวัติทางการแพทย์ สอบถามถึงอาการป่วย และตรวจร่างกายเบื้องต้นอย่างการตรวจความดันโลหิต

การตรวจอุจจาระ ตรวจเลือดหาเชื้อโรค

การให้โภชนาการที่เหมาะสม

  1. ทารกที่กินนมแม่ให้กินนมแม่ต่อได้แม้ในขณะที่กำลังรักษาภาวะขาดน้ำ
  1. ทารกที่กินนมผสมและอาหารตามวัยอื่น ๆ แนะนำให้เริ่มกินนมและอาหารไม่เกิน 4-6 ชั่วโมงแรกหลังจากเริ่มรักษาภาวะขาดน้ำไม่ควรงดนมหรือกินนมผสมเจือจาง
  1. แนะนำให้กินอาหารตามวัยที่ย่อยง่ายไม่ต้องงดอาหารโดยให้กินในปริมาณน้อย ๆ และกินบ่อย ๆ ควรงดเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง

5c652be5e229c

1111-1

images

จัดทำโดย นางสาวสุรัญญา คงแก้ว รหัส 6217701001073 ห้อง 2

อ้างอิงวันดี วราวิทย์,สุภา หริกุล,ย์สุมิตร สุตรา,พรพิมล พัวประดิษฐ,บุษบา วิวัฒน์เวคิน,นิยะดา วิทยาศัย. (2562). แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคท้องร่วงเฉียบพลันในเด็ก. สืบค้นวันที่ 8 พฤษาคม 2564, จากhttp://www.pthaigastro.org/Document/hz0tpx1bdldozf11z5minfimCPG_Blue.pdf?fbclid=IwAR2zMyJqEZt5oNP8Du9T_d1G3oJ0N7uRX3Uoi0hkUhrQTj1YMxKJRDJwEHA
สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป.) สถานการณ์โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันสำหรับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์. สืบค้นวันที่ 8 พฤษภาคม 2564, จากhttps://www.pidst.or.th/A604.html?fbclid=IwAR3rOzq7HxcKxPn94FZ0Wi8TWAnWGla28j69YsnzkqVXeuvdD14fZMCIRQQ

click to edit

click to edit