Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute Coronary Syndrome (ACS) - Coggle Diagram
Acute Coronary Syndrome (ACS)
ความหมาย
กลุ่มอาการโรคหัวใจขาดเลือดที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน
ชนิด
ST- elevation acute coronary syndrome
เกิดจากการอุดตันของ หลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
คลื่นไฟฟ้าหัวใจมีลักษณะ ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย2 leads
ที่ต่อเนื่องกัน
เกิด left bundle branch block (LBBB) ขึ้นมาใหม่
Non-ST-elevation acute coronary syndrome
คลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็น ST segment depression และ/หรือ T wave inversion ร่วมด้วย
มีอาการนานกว่า 30 นาที อาจจะเกิด
กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
อาการไม่รุนแรงอาจเกิดเพียงภาวะเจ็บ
เค้นอกไม่คงที่ (unstable angina: UA)
สาเหตุ
Coronary atherosclerosis (more than 90%)
Coronary spasm
Dissecting
Embolism
Circulation disorder
shock
heart failure
Arteritis
การเปลี่ยนนแปลงของกล้ามเนื้ออหัวใจบริเวณที่ขาดเลือดมาเลี้ยงแบ่งความรุนแรง
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง (Ischemia)
คลื่นไฟฟ้ามีคลื่น T ลักษณะหัวกลับ
กล้ามเนื้อหัวใจได้รับบาดเจ็บ(Injury)
คลื่นไฟฟ้าหัวใจมี ST ยกขึ้นหรือต่ำลง
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Infarction)
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ Q ที่กว้างมากกว่า 0.04 วินาที
การวินิจฉัย
การซักประวัติอย่างละเอียดรวมทั้งปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
การตรวจร่างกาย
กล้ามเนื้อหัวใจตายร้อยละ 25 ขึ้นไป
หัวใจซีกซ้ายล้มเหลว น้ำท่วมปอด หายใจลำบาก หายใจเหนื่อย เขียว ไอ เสมหะปนเลือด
กล้ามเนื้อหัวใจตายร้อยละ 40 ขึ้นไป
เจ็บหน้าอก ร่วมกับภาวะช็อคจากหัวใจ เหงื่อออก ตัวเย็น เป็นลม
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 12 ลีด (Lead)
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจะพบคลื่น T หัวกลับ
กล้ามเนื้อหัวใจบาดเจ็บ ระยะระหว่าง ST ยกสูง
ตรวจหาระดับเอนไซม์ของหัวใจ
Troponin-T
CK-MB
MB-Isoforms
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะออกกำลังกาย (Exercise stress test)
การตรวจสวนหัวใจโดยการฉีดสารทึบแสง (Coronary angiography)
การรักษา
การรักษาทางยาชนิดต่างๆ เพื่อเพิ่มออกซิเจนที่มา เลี้ยงหัวใจขาดเลือดโดยการให้ยาขยายหลอดเลือด
ยากลุ่มไนเตรต (Nitrates)
ยาปิดกั้นเบต้า (β-adrenergic blocking drugs)
ยาต้านแคลเซียม (Calcium channel blockers)
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด (Antithrombolytic, Thrombolytic, Anticoagculant drugs)
ยาอื่นๆ เช่น ยาแก้ปวด (Morphine)
ยาต้านการเต้นผิดจังหวะของหัวใจ
ยาขับปัสสาวะ
ยาระบาย
ยาลดความ วิตกกังวล พิจารณาเป็นรายๆ
การสวนหัวใจขยายเส้นเลือดหัวใจโคโรนารี่
PTCA
Coronary atherectomy
Intracoronary stent
Eximer laser coronary angioplasty
การผ่าตัด
CABG
Cardioplegia
CPB และ OPCAB
การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
ประสานงานตามทีมผู้ดูแลผู้ป่วยกลุ่มหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ให้ออกซิเจนเมื่อมีภาวะ hypoxemia
ตัดสินใจตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจทันที โดยทำพร้อมกับการ ซักประวัติและแปลผลภายใน 10 นาที
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิด cardiac arrest
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ความดันโลหิตต่ำ
ติดตามประเมินสัญญาณชีพ และEKG monitoring
กรณี EKG show ST elevation หรือพบ LBBB ที่เกิดขึ้นใหม่
ต้องเตรียมผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการรักษาโดยการเปิด หลอดเลือดโดยเร่งด่วน (กรณีที่ รพ.มีความพร้อม)
ประสานงานจัดหาเครื่องมือประเมินสภาพและดูแลรักษาผู้ป่วยให้เพียงพอ
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
การฟื้นฟู
1.ระยะเจ็บป่วยเฉียบพลัน (Acute Illness) : Range of motion
2.ระยะพักฟื้นในโรงพยาบาล (Recovery) :do daily activities
3.ระยะพักฟื้นที่บ้าน (Convalescence) : exercise don’t work
4.ตลอดการดำเนินชีวิต (long – term conditioning) : do work
การปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
การทำงานเริ่มจากงานเบาๆก่อน และค่อยๆ เพิ่มขึ้น
ยา เช่น พกยา Isordil ติดตัว
การขับถ่าย
ถ้
าสามารถขึ้นบันได 2 ขั้นต่อ 1 วินาที แล้วไม่มีอาการก็สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้