Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
13.91723 การวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร โดย รศ.ดร.ภรณี…
13.91723 การวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
โดย รศ.ดร.ภรณี ต่างวิวัฒน์
13.1 แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
13.1.2 ประเภท
การจำแนกประเภทของการประเมินตามลำดับเวลาบริหหารแผน/โครงการ
การประเมินก่อนดำเนินแผน/โครงการ
การประเมินระหว่างดำเนินแผน/โครงการ
การประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ/แผน
การจำแนกของการประเมินตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน
การประเมินความก้าวหน้าของแผน/โครงการ
การประเมินผลสรุปรวมของแผน/โครงการ
การจำแนกประเภทของการประเมินตามเนื้อหาการประเมิน
การประเมินบริบทหรือสภาวะแวดล้อม
การประเมินปัจจัยเบื้องต้น
การประเมินกระบวนการ
การประเมินผลหรือผลงาน
ากรจำแนกประเภทของการประเมินตามสิ่งที่หลักเป็นหลักยึดในการประเมิน
การประเมินที่อิงวัตถุประสงค์/เป้าหมายขของแผน/โครงการ
การประเมินที่ไม่อิงวัตถุประสงค์/เป้าหมายของแผน/โครงการ
13.1.3 รูปแบบ
รูปแบบการประเมินของไทเลอร์
การกำหนดวัตถุประสงค์
จำแนกวัตถุประสงค์ของแผนโครงการ
การกำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
กำหนดสถานการณ์และเนื้อหาสำคัญ
ประเมินแผน/โครงการ
เก็บรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลและเปรียบเทียบพฤติกรรมที่ได้กำหนดไว้ตามวัตถุประสงค์
รูปแบบการประเมินของครอนบาค
การศึกษากระบวนการ
การวัดความสามารถทั่วๆไป
การติดตามผล
การวัดเจตคติ
รูปแบบการประเมินแบบวัดความสำเร็จแบบสมดุล
สร้างสมดุลระหว่างวัตถุประสงค์/มาตรการระยะสั้นและระยะยาว
สร้างสมดุลระหว่างปัจจัยที่ขับเคลื่อนการดำเนินงานและวัตผลการดำเนินงาน
สร้างสมดุลระหว่างวัตถุประสงค์/มาตรการทางการเงินและที่ไม่ใช่การเงิน
13.1.1 ความหมาย ความสำคัญ และขอบเขต
ความสำคัญ
ช่วยให้ได้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาวการณ์ต่างๆ
การประเมินหรือการประเมินผลเป็นเรื่องเกี่ยวกับข้อมูล มาตรการ มาตรฐาน และเหตุผล จึงช่วยให้เหตุผลชี้แจงโต้แย้ง
ช่วยให้ทราบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับความก้าวหน้า ความสำเร็จ และผลกระทบต่างๆของการดำเนินการตามแผนงาน
ความหมาย
การประเมิน เป็นการประเมินโดยนำข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งต่างๆ ซึ่งมักจะเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ มาตีค่าเป็นตัวเลขให้สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมขณะนั้น
การประเมินผลทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร หมายถึง กระบวนการตัดสินคุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อถือได้และเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหารหรือผู้รับผิดชอบโครงการ
หมายถึง การตีค่า ตีราคา เช่น ตีราคาว่าคุ้มทุนหรือไม่
ขอบเขต
การประเมินวัตถุประสงค์
การประเมินการดำเนินงานตามโครงการ
การประเมินประสิทธิผลของการดำเนินงาน
การประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินงาน
การประเมินผลกระทบของการดำเนินงาน
13.2 แผนแบบและกระบวนการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
13.2.1 แผนแบบการวิจัย
การออกแบบองค์ประกอบการวิจัยเชิงประเมินที่ถูกกำหนดโดยแผนแบบการวิจัยเชิงประเมิน
การออกแบบการวัดตัวแปรหรือประเด็นการประเมิน
การออกแบบการสุ่มตัวอย่างหรือผู้ให้ข้อมูล
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
แบบของแผนแบบการวิจัยเชิงประเมิน
การวิจัยเชิงประเมินโดยใช้แผนแบบทดลอง
การวิจัยเชิงประเมินโดยใช้แผนแบบไม่ทดลอง
13.2.2 กระบวนการวิจัย
ศึกษารายละเอียดแผน/โครงการที่จะทำการประเมิน
ระบุหลักการและเหตุผลการประเมิน
กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตการประเมิน
กำหนดกรอบแนวคิด แบบและรรุปแบบการวิจัยเชิงประเมิน
กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์ที่ใช้ตัดสินหรือเปรียบเทียบและพัฒนาเครื่องมือเก็บข้อมูล
กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูล
การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล
จัดทำรายงานการวิจัยเชิงประเมิน
13.3 ตัวชี้วัด
13.3.2 ลักษณะของค่าตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่เป็นจำนวน
จำนวนครัวเรือนเกษตรกรที่มีฐานะยากจน
รายได้ของครัวเรือนเกษตรกร
ตัวชี้วัดที่เป็นค่าเฉลี่ย
รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนเกษตรกร
จำนวนหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือนเกษตรกร
ราคาเฉลี่ยสินค้าเกษตร
ตัวชี้วัดที่เป็นค่าสัดส่วน
ตัวชี้วัดที่กำหนดคะแนน
ตัวชี้วัดที่เป็นค่าร้อยละ
ตัวชี้วัดที่เป็นอัตราส่วน
13.3.3 การจัดทำตัวชี้วัด
การจัดทำตัวชี้วัดเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของแผน/โครงการ
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านการเงิน
ด้านสังคม
ด้านการตลาด
ด้านเทคนิค
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านบริหารโครงการ
การจัดทำตัวชี้วัดเพื่อติดตาม/ประเมินผล/โครงการ
เลือกกิจกรรมหลักหรือภ่รกิจหลักที่จะต้องทำการประเมิน
กำหนดประเด็น
วิเคราะห์ข้อมูลของแผน/โครงการ
การกำหนดตัวชี้วัด
วางระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล
กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน
จัดเก็บ รวบรวมข้อมูลตัวชี้วัด
คำนวณค่าตัวขี้วัดหรือดัชนี
เกณฑ์การพิจารณาค่าของตัวชี้วัด
13.3.1 แนวคิดเกี่ยวกับตัวชี้วัด
หมายถึง เครื่องมือหรือสิ่งที่บ่งบอกถึงความก้าวหน้าและความสำเร็จหรือไม่สำเร็จของกิจกรรมหรือกระบวนการดำเนินงานเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดในมิติต่างๆ ทั้งในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ ประสิทธิภาพ หรือประสิทธิผล
องค์ประกอบ
มิติ
ประเด็น
ตัวชี้วัด/ดัชนี
ตัวแปร
แหล่งข้อมูล
เกณฑ์การพิจารณา
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ประเภท
ตัวชี้วัดผลกระทบ
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ฺ
ตัวชี้วัดผลผลิตหรือผลการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดกระบวนการ
ตัวชี้วัดปัจจัยนำเข้า
ตัวชี้วัดการบริหารจัดการโครงการ
คุณลักษณะ
มีความจำเพาะเจาะจง
มีระบบจัดเก็บข้อมูลที่ดี
มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน
เป็นที่ยอมรับของผู้ที่เกี่ยวข้อง
มีความเที่ยงตรง
13.4 การดำเนินการวิจัย
13.4.1 การเก็บรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล
แหล่งข้อมูลในการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
บันทึกต่างๆขององค์กร
อนุกรมสถิติทางราชการ
บุคคล
การเก็บรวบรวมข้อมูลกับขั้นตอนต่างๆของการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูลกับวัตถุประสงค์ของกรวิจัยเชิงประเมิน
การเก็บรวบรวมข้อมูลกับกรอบแนวคิดการวิจัยและสมมติฐาน
การเก็บรวบรวมข้อมูํลกับเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลกับการรายงานผลการวิจัย
การเลือกวิธีการเก็บข้อมูล
งบประมาณและบุคลากร
ระยะเวลาที่ศึกษา
คุณสมบัติของประชากรที่ศึกษา
วัตถุประสงค์การวิจัยเชิงประเมิน
การวิเคราะห์ข้อมูล
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเลิงประเมินแต่ละข้อ
ตัวชี้วัดวัตถุประสงค์แต่ละข้อ
ที่มาของข้อมูลของตัวชี้วัด
คุณสมบัติของตัวชี้วัด
สถิติที่ใช้ในการพรรณาและวิเคราะห์ข้อมูล
13.4.2 การเขียนรายงานผลการวิจัย
สาระสำคัญซึ่งต้องกล่าวถึงในการรายงานการวิจัยเชิงประเมิน
ผระสิทธิผลของการบริหารแผน/โครงการ
ผลกระทบของแผน/โครงการ
ความสามารถในการบริหารจัดการแผน/โครงการให้บรรลุเป้าหมาย
ปัญาห อุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการตามแผน/โครงการ
ประเภท
รายงานฉบับวิชาการ
รายงานสำหรับผู้บริหารและผู้วางนโยบาย
โครงสร้าง
ส่วนอ้างอิง
ส่วนเนื้อเรื่อง
ส่วนนำ