Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กำลังการคลอดผิดปกติ - Coggle Diagram
กำลังการคลอดผิดปกติ
แรงจากการเบ่ง
การเบ่งเป็นระยะเวลานาน
หมดแรงอ่อนเพลีย
เกิดภาวะเลือดเป็นกรด เนื่องจากกล้ามเนื้อทำงานมาก
เกิดภาวะขาดน้ำ
แรงเบ่งน้อย
การคลอดระยะที่2 ยาวนานทารกมีโอกาสเกิดภาวะขับคันหรือขาดออกซิเจน
แรงจากการหดรัดตัว ของมดลูกผิดปกติ
มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ
(hypertonic uterine dysfunction)
มดลูกหดรัดตัวไม่ประสาน
กัน(Uncoordinated contraction)
การที่มดลูกหดรัดตัวถี่และแรง แต่ไม่สม่ำเสมอ ไม่มี ประสิทธิภาพ หดรัดบริเวณตอนกลางหรือตอนล่าง แรงดันน้ำ คร่ำ >60 mmHg ระยะพัก >15 mmHg หรืออาจถึง 85mmHg
สาเหตุ
ผู้คลอดในครรภ์
CPD
ผู้คลอดอายุมาก
การพยาบาล
จัดให้ผู้คลอดท่านอนตะแคง
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด
ดูแลให้พักผ่อน
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
เฝ้าระวังภาวะ fetal distress โดยฟัง FHS
ผลต่อการคลอด
อ่อนเพลียมาก อาจมีภาวะขาดน้ำ เลือดเป็นกรด
ปากมดลูกเปิดช้า เกิดการคลอดยาวนาน
เจ็บครรภ์มากกว่าปกติ เจ็บแม้มดลูกคลายตัว
ทารกมีโอกาสเกิดภาวะขาด 02 สูง
มดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
(tetanic contraction)
ผลต่อการคลอด
ส่วนใหญ่,ต้องผ่าตัด เพราะถ้าปล่อยไว้อาจมดลูกแตก
เจ็บครรภ์มากกว่าปกติ เจ็บคลอดอ่อนเพลีย อาจขาดน้ำ ทารกเสี่ยงขาด 02
สาเหตุ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
การคลอดติดขัด เนื่องจาก มีภาวะ CPD หรือทารกอยู่ในท่าผิดปกติ ทำให้มดลูกหด รัดตัวย่อยและแรงเพื่อผลักดันทารกออกมา
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
จัดท่านอนตะแคงซ้าย
หยุดยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
เฝ้าระวัง fetal distress โดยฟัง FHS ทุก 5-10 min
ให้ยาแก้ปวด
สังเกตอาการเตือนมดลูกแตก ได้แก่ ผู้ คลอดเจ็บปวดมากเกิด Bandl's ring ให้ เตรียมผ่าคลอด และรายงานแพทย์
มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวนบนรอย
คอดของทารก (Constriction ring
)
สาเหตุ
ภายหลังการทำหัตถการ เช่น การ หมุนกลับท่าทารกในะครรภ์
ภายหลังการคลอดทารกแฝดคนแรก
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
น้ำคร่ำน้อย ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ผลต่อการคลอด
คลอด - มดลูกปิด - รกค้าง
วงแหวนดึงรั้งไม่ให้ทารกเคลื่อนต่ำลงมา เกิดการคลอดติดขัดต้อง ผ่าตัด
การคลอดติดขัด ถ้าวงแหวนเกิดระยะที่ 3 ของการคลอด
เจ็บครรภ์มาก
กล้ามเนื้อมดลูกชนิดวงกลม circular muscle กล้ามเนื้อมดลูกชนิดวงกลม circular muscle
การพยาบาล
หยุดยากระตุ้น
จัดท่านอนตะแคงซ้ายและให้ 02
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก=
ให้สารน้ำตามแผนการรักษา
ให้ยาแก้ปวด
ปากมดลูกไม่เปิดให้ผ่าคลอด
มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
(hypotonic uterine dysfunctior)
ผลต่อการคลอด
อาการเกิดการคลอดยากในระยะที่ 1 และ 2 ของการคลอด
ผลต่อผู้คลอดและทารก
เหน็ดเหนื่อยและหมดแรง ถ้าได้รับสารน้ำไม่เพียงพออาจเกิดภาวะขาดน้ำ
มีโอกาสตกเลือดเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดีซึ่งเกิดต่อเนื่องไปจนถึงระยะหลังคลอด
สาเหตุ
มดลูกขยายมากกว่าปกติ
ครรภ์แฝด
ทารกตัวโต
เชิงกรานแคบ
ทารกตัวเล็ก
มดลูกมีเนื้องอก
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
กระเพาะปัสสาวะเต็ม
การพยาบาล
ถ้าปากมดลูกยังเปิดไม่หมด ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก ให้ลุกเดิน หรือนอนตะแคงศีรษะสูง
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับสารน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ
กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะ ถ้าปัสสาวะเต็มและถ่ายเองไม่ได้ภายใน 2-4 ชม. ต้องสวนปัสสาวะให้
ถ้าการคลอดเข้าสู่ระยะ active phase แน่นอน ส่วนนำ เข้าสู่ช่องเชิงกรานแล้วให้เจาะถุงน้ำร่วมกับให้ oxytocin
เฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกในระยะ active phase