Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders of pregnancy) -…
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders of pregnancy)
ระดับความดันโลหิตในสตรีตั้งครรภ์
ระดับความดันโลหิตในสตรีตั้งครรภ์จะต่ำกว่าขณะที่ไม่ตั้งครรภ์และจะต่ําสุดในระยะไตรมาสที่2ของการตั้งครรภ์
การลดต่ำลงของความดันโลหิตระหว่างตั้งครรภ์เกิดจากvascular tone ลดลงเนื่องจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
ความหมายของภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะความดันโลหิตสูง (hypertension)
ภาวะที่ค่าความดันsystolic BPอย่างน้อย 140 mmHg.หรือค่าความดันโลหิตdiastolic BPอย่างน้อย 90 mmHg
ภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ (Pregnancy Induced Hypertension: PIH)
ภาวะความดันโลหิตสูงที่มีสาเหตุจากการตั้งครรภ์ พบในระยะครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
ภาวะความดันโลหิตสูงหลังคลอด (postpartum hypertension)
สตรีที่มีความดันโลหิตปกติขณะตั้งครรภ์ (normotensive gestation) แล้วมีความดันโลหิตสูงขึ้นในช่วง 2 สัปดาห์หลังคลอด ถึง 6 เดือนหลังคลอด
ชนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์(gestational hypertension)
ภาวะความดันโลหิตสูงที่วินิจฉัยได้ครั้งแรกในระหว่างการตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์20 สัปดาห์
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (chronic/ preexisting hypertension)
ภาวะความดันโลหิตสูงที่เป็นมาก่อนการตั้งครรภ์ หรือวินิจฉัยได้ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ครรภ์เป็นพิษ หรือ ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะก่อนชัก(preeclampsia)
กลุ่มอาการ (syndrome) ของความดันโลหิตที่พบครั้งแรกในขณะตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ภาวะความดันโลหิตสูงคงอยู่ไม่เกิน 12 สัปดาห์หลังคลอด
ครรภ์เป็นพิษระยะชัก (eclampsia)
ภาวะครรภ์เป็นพิษที่มีภาวะชักร่วมด้วย
ครรภ์เป็นพิษซ้อนทับกับความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (preeclampsia superimposed on chronic hypertension)
สตรีที่มีภาวะความดันโลหิตสูงเรื้อรัง เมื่อตั้งครรภ์แล้วพบมีภาวะครรภ์เป็นพิษแทรกซ้อน
ภาวะครรภ์เป็นพิษก่อนระยะชัก(Preeclampsia)
เกณฑ์การวินิจฉัย preeclampsia
การพิจารณาค่าความดันโลหิตที่สูง
การพบโปรตีนในปัสสาวะ
เกล็ดเลือดต่ำ
การทํางานของไตผิดปกติ การทํางานของตับผิดปก
เกณฑ์การวินิจฉัยเกี่ยวกับโปรตีนในปัสสาวะ (proteinuria)
ตรวจวัดโดยการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
ยกเลิกเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะครรภ์เป็นพิษระดับรุนแรง (severe preeclampsia)
ใช้เกณฑ์ proteinuria มากกว่า 5 กรัมในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
เกณฑ์การประเมินความรุนแรงของภาวะ preeclampsia
ครรภ์เป็นพิษที่มีลักษณะรุนแรง
ปวดใต้ลิ้นปี่และชายโครงขวาปัสสาวะออกน้อย
ครรภ์เป็นพิษที่มีลักษณะไม่รุนแรง
ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะชัก (eclampsia)
หมายถึงภาวะชักแบบ generalized convulsions หรือ grandmal seizures ที่มีลักษณะเป็นการชักเกร็งแบบชักกระตุก
สาเหตุและพยาธิกําเนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ระยะที่ 1 ระยะก่อนแสดงอาการ (preclinical หรือ asymptomaticstage)
เป็นระยะที่เกิดความผิดปกติที่รก
เกิดขึ้นตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์โดยการพัฒนาการตามปกติของรก
ระยะที่ 2 ระยะแสดงอาการ (clinical stage)
รกที่ขาดออกซิเจนจะมีการหลั่งสารต่างๆออกมาในกระแสเลือด
proinflammatory และ antiangiogenic factors ทําให้เซลล์บุโพรงหลอดเลือดบาดเจ็บ และขาดเลือด
เกิดความผิดปกติในการทําหน้าที่ของเนื้อเยื่อบุโพรงหลอดเลือด
พยาธิสรีรภาพของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ระบบไต (renal system)
เกิด glomerularcapillaryendotheliosis
ทําให้ glomerularinfiltration rate ลดลง
ส่งผลให้ปริมาณปัสสาวะลดลง
ระดับ serum uric acid และ creatinine เพิ่มขึ้น
ทําให้เกิดการคั่งของน้ำในเนื้อเยื่อ interstitial space และเกิดอาการบวมน้ำของอวัยวะต่างๆ
ระบบหัวใจและปอด (cardiopulmonary system)
มีความเสี่ยงต่อการเกิดน้ำท่วมปอด และสารน้ำในระบบไหลเวียนโลหิตจะรั่วออกไปคั่งตามเนื้อเยื่อต่างๆ
ส่งผลให้ intravascular volume ลดลง เลือดมีความหนืดมากขึ้น
การได้รับสารน้ำปริมาณมากอย่างรวดเร็วจะทําให้เกิดภาวะน้ําท่วมปอด จะส่งผลให้เกิดการทํางานของหัวใจล้มเหลว
ระบบเลือดและการแข็งตัวของเลือด
เกิดภาวะhemoglobulonemia และ hyperbillirubinemia
ระบบตับ
generalized vasoconstriction ทําให้เกิด hepatic ischemia
ระบบประสาท
หลอดเลือดหดเกร็ง ทําให้เกิด cortical brain spasm และเกิด cerebral ischemia ส่งผลให้มีสมองบวม
ระบบการมองเห็น
รก และมดลูก
ทําให้เกิดการตายของเนื้อรกและผนังมดลูก
การทําหน้าที่ของรกเสื่อมลง
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
สตรีที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อน
ประวัติครรภ์เป็นพิษในครรภ์ก่อน
ผ่านการคลอดบุตรคนก่อนมาอย่างน้อย 10 ปี
สตรีอายุมากขึ้นตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป
การตั้งครรภ์แฝด
ประวัติพันธุกรรมครรภ์เป็นพิษในครอบครัวของสตรีตั้งครรภ์
ประวัติมีความเจ็บป่วยทางอายุรกรรมที่เกี่ยวข้อง
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
โรคไตเรื้อรัง
โรคเบาหวาน
ความผิดปกติทางสูติกรรม
กลุ่มอาการถุงน้ำรังไข่หลายใบ
การทําเด็กหลอดแก้ว
ภาวะโภชนาการบกพร่อง
ภาวะ preeclampsia
ปวดศีรษะส่วนหน้า
มองเห็นผิดปกติ
ปวดใต้ชายโครงขวา หรือจุกแน่นใต้ลิ้นปี่
อาการแสดง
Systolic BP ≥ 160 mmHg. หรือ Diastolic BP ≥ 110 mmHg.
น้ำท่วมปอด
Eclampsia คือ มีอาการชักแบบชักทั้งตัว
เลือดออกในสมอง
ตาบอดจากพยาธิสภาพของครรภ์เป็นพิษในสมอง
อาการ
ภาวะไตวาย
การทํางานของตับผิดปกติ
เกล็ดเลือดต่ำ
ระบบการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
HELLP syndrome
Hemolysis
การแตกหรือสลายของเม็ดเลือดแดง
Elevated liver enzymes
การเพิ่มของเอนไซม์ตับ
Low platelet
เกล็ดเลือดต่ำ ค่า platelet cout ≤ 100,000 ต่อไมโครลิตร
ภาวะ Eclampsia
ระยะก่อนชัก
กระสับกระส่าย ตามองนิ่งอยู่กับที่
ระยะเริ่มแรกของอาการชัก
มีอาการกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าและมุมปากกระตุก
ระยะชักเกร็ง
เกร็งกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย ลําตัวเหยียด ศีรษะหงายไปด้านหลัง
ระยะชักกระตุก
มีการกระตุกของกล้ามเนื้อทั่วร่างกายอย่างแรง
ระยะหมดสติ
นอนนิ่งไม่เคลื่อนไหวอยู่ในสภาพหมดแรง
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกําหนด
ตวายเฉียบพลัน เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงไตน้อยลง
หลอดเลืออุดตัน
ผลกระทบต่อทารก
ทารกโตช้าในครรภ์
ทารกคลอดก่อนกําหนด
แนวทางการรักษา
การรักษา preeclampsia without severe features
การนอนพัก ดูแลควบคุมไม่ให้อาการรุนแรงขึ้น
การรักษา preeclampsia with severe features
การป้องกันการชัก ควบคุมความดันโลหิต และยุติการตั้งครรภ์
การรักษา eclampsia
ควบคุมการชัก แก้ไขภาวะพร่องออกซิเจน
ยาที่ใช้ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ยาป้องกันการชัก
Magnesium Sulfate
ยาลดความดันโลหิต
Hydralazine (Apresoline
Labetalol
Nifedipine
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะ preeclampsia without severe features
ดูแลให้นอนพักบนเตียง ในท่านอนตะแคงซ้าย
ประเมินสัญญาณชีพ
ดูแลและติดตามประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เฝ้าระวัง ติดตาม อาการและอาการแสดง
ดูแลให้รับประทานอาหารธรรมดา
ติดตามการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ preeclampsia with severe features
ดูแลให้นอนพักบนเตียงอย่างเต็มที่
ประเมินสัญญาณชีพ
บันทึกปริมาณสารน้ําเข้าและออก
ดูแลให้ยาป้องกันชัก MgSO4ตามแผนการรักษา
ประคับประคองด้านจิตใจ
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ eclampsia
ใส่ oral airway หรือ mouth gag
จัดให้นอนตะแคง ใส่ไม้กั้นเตียง
ให้ออกซิเจนขณะชัก และภายหลังชัก
ดูแลให้ได้รับยาระงับชักตามแผนการรักษา
ดูแลป้องกันการชักซ้ําภายหลังคลอด
ให้การดูแลป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
รายงานแพทย์เมื่อมีอาการนําของการชักหรือขณะชัก