Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
water stool, อุจจาระร่วง
diarrhea, การวินิจฉัย, อุจจาระร่วงแบ่งเป็น 2…
-
อุจจาระร่วง
diarrhea
-
-
การรักษา
การรักษาภาวะขาดน้ำ
-
1.2 ให้ ORS ปริมาณ 50 มล. / กก. และ 100 มล. / กก. ภายใน 4 ชั่วโมงสำหรับภาวะขาดน้ำในระดับน้อยและปานกลางตามลำดับและให้ปริมาณ 10 มล. / กก. ต่อการถ่ายอุจจาระเหลวเป็นน้ำ 1 ครั้ง (ปริมาณสูงสุด 240 มล. ต่อครั้ง) ใน 1-3 วันแรกเพื่อทดแทน Concurrent loss
- การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
2.1 ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเพื่อแก้ไขภาวะขาดน้ำในผู้ป่วยที่มีภาวะขาดน้ำในระดับรุนแรงหรือมีภาวะช็อกหรือผู้ป่วยที่อาเจียนมากไม่สามารถดื่มสารละลายเกลือแร่ทางปาก (ORS)
2.2 ในผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกให้สารน้ำ normal saline solution หรือ lactated Ringer's solution 20 มล. / กก. ภายใน 10-15 นาทีหากความดันเลือดยังไม่ปกติให้พิจารณาให้ซ้ำอีก 1-2 ครั้ง
การให้โภชนาการที่เหมาะสม
- ทารกที่กินนมแม่ให้กินนมแม่ต่อได้แม้ในขณะที่กำลังรักษาภาวะขาดน้ำ
- ทารกที่กินนมผสมและอาหารตามวัยอื่น ๆ แนะนำให้เริ่มกินนมและอาหารไม่เกิน 4-6 ชั่วโมงแรกหลังจากเริ่มรักษาภาวะขาดน้ำไม่ควรงดนมหรือกินนมผสมเจือจาง
- กินอาหารตามวัยที่ย่อยง่ายไม่ต้องงดอาหารโดยให้กินในปริมาณน้อย ๆ และกินบ่อย ๆ ควรงดเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง
การพยาบาล
- ดูแลให้ได้รับ ORS ควรป้อนครั้งละน้อย ๆ ใน 4 ชั่วโมงแรก เช่น ครั้งละ 1 ช้อนชา แล้วค่อย ๆ เพิ่มขึ้นเท่าที่เด็กจะรับได้ ถ้าเด็กอาเจียน ให้ครั้งละน้อย ๆ บ่อย ๆ เช่น 5 มล. ให้ทุก 1-2 นาที
- ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพร่วมกับสังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะขาดน้ำ โดยเฉพาะ
ปัสสาวะให้ประเมินและบันทึกเป็น มล.
- สังเกตและบันทึกปัสสาวะ อุจจาระ ฟังเสียงการทำงานของลำไส้
- สังเกตอาการ ไม่ยอมรับ ORS หรือรับได้น้อย อาเจียนบ่อยหลังได้ ORS ซึม ไม่รู้สึกตัว ปากแห้งมาก ในเด็กเล็กมีกระหม่อมบุ๋มมาก ชีพจรเร็ว ความดันโลหิตต่ำลง ปัสสาวะออกน้อย (น้อยกว่า 1 มล./กก./ชม.)อุจจาระเป็นน้ำจำนวนมากและบ่อยครั้งขึ้น (มากว่า 20 มล./กก./ชม. ให้รีบรายงานแพทย์
- เตรียมให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและปรับอัตราการหยดให้ถูกต้องตามแผนการรักษา
- ประเมินความไม่สมดุลของเกลือแร่และภาวะกรด-ด่าง โดยสังเกตอาการที่บ่งชี้ภาวะต่าง ๆ เช่น ภาวะ hyponatremia
-
8.สังเกตอาการ ถ้ามีอาการดังต่อไปนี้ให้นำมาพบแพทย์ทันทีเช่น ไม่ยอบรับอาหารหรือสารน้ำทางปาก อาเจียนซ้ำ ๆ หลังได้อาหารหรือสารน้ำ มีอาการกระหายน้ำมาก ไข้ขึ้นสูง ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำจำนวนมาก มีเลือดในอุจจาระ
9.สังเกตและประเมินอาการที่อาจมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นจากการติดเชื้อในกระแสเลือด เช่น ชัก ชีพจรเต้นเร็ว ปวดท้อง หน้าท้องแข็ง อาเจียน ถ้ามีอาการรีบปรึกษาแพทย์โดยด่วนเพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันที
การวินิจฉัย
-
การตรวจอุจจาระ Stool examination และ stool occult blood เพื่อตรวจเม็ดเลือดขาวเม็ดเลือดแดง หนอนพยาธิ และโปรโตซัวต่าง ๆ
การเพาะเชื้ออุจจาระ Stoolgram stain, stool cultureตรวจหาน้ำตาลในอุจจาระ
-
-
-
-
เกิดจากเชื้อก่อโรค Rota virus ไวรัสอื่นๆ ทำลายวิลไลบริเวณเยื่อบุลำไส้ที่ทำหน้าที่สร้างเอนไซม์ย่อยน้ำตาลชนิดต่างๆ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-