Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์, ผลต่อ Organ, นางสาวธีราภรณ์ วงค์กองแก้ว…
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
การวินิจฉัย
Systolic BP สูงกว่า baseline 30 mmHg หรือ Diastolic BP สูงกว่า baseline 15 mmHg
ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีโรคความดันโลหิตสูงอยู่ก่อนตั้งครรภ์
Sys ≥ 140 และ/หรือ Dias≥ 90 mmHg คงที่นานกว่า 6 hr.
(MAP) > 105 mmHg โดยวัดอย่างน้อย 2 ครั้ง ห่างกัน 6 ชม.
MAP = (BPs + (2BPd) /3 หรือ
MAP = BPd + (1/3 pulse pressure)
ประเภท
Chronic hypertension
เป็นมาก่อนการท้อง หรือ Dx. ได้ อายุก่อน 20 wks. ฺหลังคลอด BP ยังสูงอยู่
ไม่พบโปรตีนใน ปสว. ไม่บวม
P
reeclampsia superimposed
on Chronic hypertension
มีประวัติเป็น HT มาก่อน
urine protein 24 hr. พบ โปรตีนใน ปสว. ≥ 0.3 gm/L
มีภาวะ thombocytopenia
Gestational hypertension
Sys ≥ 140 และ/หรือ Dias≥ 90 mmHg
พบ GA 20 wks.ขึ้นไป หายเมื่อ 6 wks. หลังคลอด
Pregnancy-induced hypertension; PIH
ฺBP > 140/90 mmHg หลัง GA 20 wks. ปกติ 6 wks. หลังคลอด
ประกอบด้วย
Preeclampsia
ความดันโลหิตสูงชนิดที่ ไม่พบโปรตีนในปัสาวะและมีอาการบวม (hypertension without proteinuria or pathological edema)
Eclampsia
มีอาการชักร่วมด้วย
Severe Features
Sys ≥ 160 และ/หรือ Dias≥ 110 mmHg วัด 2 ครั้ง ห่างกัน 4 hr.
Thrombocytopenia: เกล็ดเลือดต่ำกว่า100,000/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
Impaired liver function: มีการเพิ่มขึ้นของค่าliver transaminase 2 เท่าของค่าปกติหรือมีอาการปวดบริเวณใต้ชายโครงขวาหรือ ใต้ลิ้นปี่อย่างรุนแรง และอาการปวดไม่หายไป (severe persistence) ไม่ตอบสนอง ต่อการรักษาด้วยยา และไม่ใช่เกิดจากการวินิจฉัยอื่นหรือทั้ง 2 กรณี
Progressive renal insufficiency:ค่าserum creatinine มากกว่า 1.1 มิลลิกรัม/เดซิลิตร หรือเพิ่มขึ้น เป็น 2เท่าของ serum creatinine เดิม
Pulmonary edema
อาการทางสมองหรือตา ที่เกิดขึ้นใหม่ (new-onset)
การรักษา Severe Preeclampsia
ยุติการตั้งครรภ์ ทบทวน Lab เพื่อเตรียมการคลอด
ป้องกันการชัก ให้ MgSO4 4 gm IV Loading ช้า
ควบคุมความดันโลหิต
ชนิด
Mild preeclampsia
BP 140/90 mmHg พบ urine protein ไม่เกิน 2+ น้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่า 1 กิโลกรัม/สัปดาห์ ในไตรมาส 2 และมากกว่า 0.5 กิโลกรัม/สัปดาห์ ในไตรมาส 2 อาจมีบวมเล็กน้อยที่ท่อนล่างของร่างกาย
Severe preeclampsia
Systolic BP ≥ 160mmHg Diastolic BP ≥ 110 mmHg คงที่
อย่างน้อย 6 ชม.
hyper reflex
ตรวจ Lab พบ Creatinine > 1.5 mg/dl , ALT, AST สูงกว่า 2 เท่าของคนปกติ > 70 iu/l
Platelet < 100,000 cell/mm3 (thrombocytopenia)
พบค.ผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด (disseminated intravascular coagulopathy; DIC)
HELLP syndrome (Hemolysis Elevated Liver enzyme Low Platelet count)
พยาธิสภาพ
1.ร่างกายย่อยสลายกรดไขมันจำเป็น(arachidonicacid:AA)>>>ProstaglandinE2(PGE2)+ Prostacyclin (PGI2) (vasodilation) + Thromboxane A2 (vasoconstriction)
2.การตั้งครรภ์ปกติ>>>สร้างสารprostacyclin(PGI2)(ออกฤทธิ์ต้านสารกระตุ้นการหดรัดตัวของหลอดเลือดคือ thromboxane A2 + angiotensin II )ในระดับสูงและเพิ่มมากขึ้นตามอายุครรภ์ >>> เพื่อส่งเสริมให้การไหลเวียนเลือดสามารถไปได้ทั่วถึงทุกส่วนของร่างกาย และทำให้หลอดเลือดมีการขยายตัว
หากมีสัดส่วนการสร้างสาร Thromboxane A2 สูง >>> เกดิ การหดเกร็งของหลอดเลือด (vasospasm) มากขึ้น>>>มีการหดรัดตวัของหลอดเลือดทั่ว ร่างกาย>>>แรงต้านการไหลเวียนของเลือดมีมากขึ้น
4.angiotensinII ที่กระตุ้นให้เส้นเลือดหดรัดตัว>>>ทำให้endothelialcellมีการหดรัดตัวมากขึ้น>>>endothelial ถูกทำลาย >>> เกล็ดเลือด และ fibrinogen ถูกทาลายจนลดน้อยลง พลาสมารั่วออกนอกเส้น เลือดมากขึ้น
5.การหดเกร็งของหลอดเลือด>>>เซลล์บริเวณรอบๆเส้นเลือดที่หดรัดตัวขาดออกซิเจน(hypoxia)>>> เลือดออก (injury) >>> เนื้อตาย (necrosis)
ปัจจัยเสี่ยง
ครรภ์แฝด ครรภ์ไข่ปลาอุก
ประวัติ HT ในครรภ์ก่อนหน้า
อ้วน / โลหิตจาง
ท้อง ครรภ์แรกน้อยกว่า 21ปี /ผ่านการคลอยหลายครั้ง 35 ปีขึ้นไป
เบาหวาน /ไต
ผลต่อมารดา/ ทารก
มารดา
เกิด HELLP syndrome
ชัก
Acute Renal Failure
ทารก
ขาดออกซิเจน ตายก่อน กน.
รกเสื่อม รกแห้ง ตายในครรภ์
หากได้รับMgSO4 ระยะคลอด ทำให้ Hypermagnesemia ได้
การรักษา
/ดูแล
mild preeclampsia
นับลูกดิ้น วันละ 3 ครั้ง GA 27 wks.ขึ้นไป
สังเกตอาการผิดปกติ
ชั่งนน. วัด BP ทุกวัน นอนพักท่าตะเเคง
ทานอาหารรสจืด
การดูเเล Eclampsia
ให้ MgSO4 ป้องกันชักซ้ำ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ป้องกันการกัดลิ้น
ส่งตรวจ LAB
กลุ่มเสี่ยง
วัด BP /ติดตามนน.
ทานยาแอสไพริน ขนาดต่ำ (60-80 mg/day)
ให้ CaCO3 1.5g/day ,นอนพัก ตะเเคง
ผลต่อ Organ
ระบบประสาท
Hyperreflexia ,clonus
ชัก เมื่อมี พยธ.ที่ Brain
สมองบวม มีเลือดออก เนื้อตายในสมอง
ตับ
เลือดออกในตับ ตับแตก
เจ็บชายโครงขวาใต้ลิ้นปี่ N/V
หัวใจ หลอดเลือด
Cardiac decompensation
โลหิต
HELLP GA 17 wks.-หลังคลอด 1 wks.
ปอด
pulmonary edema
ปัสสาวะ
พบโปรตีนใน ปสว. ปสว.ออกน้อย
กน.มดลูกและรก
IUGR จากทารกได้รับเลือดไปเลี้ยงน้อย
นางสาวธีราภรณ์ วงค์กองแก้ว เลขที่ 18