Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่โรคระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่โรคระบบทางเดินหายใจ
อาการและอาการแสดง
รูปร่างทรวงอก : อกรูปถังเบียร์ ( barrel shape )
ผิวหนังมีสีเปลี่ยนไป : เขียวคล้ำ ซีด
ท่าที่แสดง : นอนราบไม่ได้นั่งโน้มตัวมาข้างหน้า
เสียงหายใจผิดปกติ : crowing, wheezing
ลักษณะการหายใจ : อกบุ๋ม ใช้ accessory muscles Sternocleidomastoid
กระวนกระวาย พูดไม่ออก
หายใจลําบาก Dyspnea
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ภาวะพร่อง O2 ในเลือด
ภาวะที่มีปริมาณ O2ในเลือดแดงลดลง
ทำให้ Hb จับตัวกับ O2 ไม่เพียงพอ
PaO2 < 80 mmHg (ค่าปกติ 80 – 100 mmHg)
เนื้อเยื่อ และเซลล์ได้รับ O2 ไม่เพียงพอด้วย : hypoxia
อาการของ hypoxemia
อาการตัวเขียวคล้ำ (cyanosis)
หายใจหอบลึก (hyperpnea)
มึนงง ง่วงนอน ปวดศีรษะ อาเจียน
เสมหะผิดปกติ
มีลักษณะเป็นมูก มักผสมกับน้ำลาย ถูกขับออกทางปาก
เสมหะที่ผิดปกติ อาจมี หนอง, เลือด, แบคทีเรีย
สร้างจากทางเดินหายใจ
ลักษณะของเสมหะที่ผิดปกติ
Pink frothy sputum : pulmonary congestion/ edema
กลิ่นเหม็น ข้น : lung abscess
เส้นใส บางทีขดเป็นก้อน : asthma
ข้นเหนียว สีเขียว / เหลือง : มีการอักเสบ / ติดเชื้อ
มีเลือดปน : Bronchitis, TB, CA, Bronchiectasis
Asthma = อุดกั้นชั่วคราว
สาเหตุ
Extrinsic asthma : ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้
Intrinsic asthma : ติดเชื้อ, อารมณ์
ส่วนสำคัญ 3 ประการ
ความไวเกินของหลอดลม
การอุดกั้นของหลอดลม
การอักเสบของหลอดลม
การเปลี่ยนแปลงของหลอดลมและปอด
Airway muscle หดเกร็ง ลมผ่านหลอดลมลำบาก
Chronic mucous plug formation เสมหะอุดหลอดลม
ลมผ่านหลอดลมลำบาก
Air way edema จากการหลั่งของสารน้ำ
ผนังหลอดลมบวม หอบเพิ่มขึ้น
Air way remodeling ผนังหลอดลมหนาตัว
หลอดลมตีบเรื้อรัง
Initial assessment
Airway : พูด ส่งเสียงได้หรือไม่
Breathing : อัตรา ความลึก ใช้ accessory muscle เสียงผิดปกติ
Circulation : ชีพจร ผิวเย็นซีด เย็น เหงื่อออกมาก cyanosis
การวินิจฉัย
ประวัติ : หอบหืด ภูมิแพ้
อาการ อาการแสดง : แน่นอึดอัด หายใจไม่ออก หอบเหนื่อย มีเสียงวี๊ด ปีกจมูกบาน
Acute Bronchitis
สาเหตุ
ไอแห้งๆ ไอตอนกลางคืน เสียงแหบ เจ็บคอ เจ็บหน้าอก ไข้ต่ำ 3 - 5 วัน เสียง wheezing
ภาวะแทรก ซ้อน
Asthma, Chronic bronchitis , COPD
การรักษา
ยาลดไข้
ยาขับเสมหะ
ยาระงับไอ
การพยาบาล
จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่หายใจสะดวก
หากมีไข้ เช็ดตัวลดไข้
ประเมินการหายใจ
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดโปร่ง พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ
ฝึกการหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
Chronic Bronchitis
สาเหตุ
เชื้อ streptococcus, Hemophilus influenza
อาการ
ไอมีเสมหะเรื้อรัง ไข้บางครั้ง
หอบเหนื่อย เสียง wheezing
ภาวะแทรกซ้อน
Pneumonia , COPD , Heart failure
การรักษา
ยาขยายหลอดลม
ยาปฏิชีวนะ
ยาขับเสมหะ
การพยาบาล
จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่หายใจสะดวก
หากมีไข้ เช็ดตัวลดไข้
ประเมินการหายใจ
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดโปร่ง พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ
ฝึกการหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
ถุงลมโป่งพอง
-
obstructive lung disease เนื้อเยื่อในผนัง
ถุงลมถูกทำลาย ถูกยืดขยายได้ง่ายไม่คืนตัวกลับ
elastic tissue ถูกทำลาย ถุงลมเหลือน้อย
แต่ขนาดใหญ่มากขึ้น
พยาธิสภาพ
สูบบุหรี่ต่อเนื่อง นาน มลพิษในควันบุหรี่ระคายเคืองต่อหลอดลมและทำลายผนังถุงลม
ผู้ป่วยสูดหายใจเข้าได้ไม่เต็มที่ เหนื่อยหอบ
เสมหะมากขึ้น
ผนังหลอดลมอักเสบและหนาขึ้น
หลอดลมระคายเคืองนานๆ
การรักษา
ยาขยายหลอดลม : กิน ฉีด และพ่น นิยมใช้ยาพ่นที่ออกฤทธิ์นาน ส่วนยาพ่นชนิดออกฤทธิ์เร็ว ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยเริ่มหอบ
ยาปฏิชีวนะ : ระบบทางเดินหายใจอักเสบติดเชื้อ หลอดลมอักเสบ ไอมีเสมหะมากขึ้น
ยาสเตียรอยด์ : อาการรุนแรง หลอดลมอักเสบร่วมด้วย ออกฤทธิ์ต้านการอักเสบได้ดี
ยาละลายเสมหะ : เสมหะเหนียว และเสมหะมาก ดื่มน้ำให้มากขึ้น เพราะน้ำเป็นตัวละลายความเหนียวของเสมหะได้ดีที่สุด
การดำเนินโรคของโรค
ขั้นที่ 1 มีปัจจัยเสี่ยง เริ่มมีการอุดกั้นของหลอดลมเล็ก ๆ
ขั้นที่ 2 หลอดลมอุดกั้น และถุงลมเสื่อมชัดเจน
ขั้นที่ 4 มีการเสื่อมของหลอดลมและถุงลมมาก
ขั้นที่ 3 ไอและเหนื่อยมากขึ้น
โรคหลอดลมโป่งพอง (Bronchiectasis)
หลักการพยาบาล
การประเมินสารน้ำที่ผู้ป่วยได้รับ
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอตามแผนการรักษาของแพทย์
การประเมินความเหนียวของเสมหะ
การเลือกใช้วิธีระบายเสมหะ : ไอ จัดท่า เคาะปอด
การประเมินอาการทางคลินิก
วิธีประเมินประสิทธิภาพในการระบายเสมหะ
การประเมินความสามารถในการไอของผู้ป่วย
Pneumonia (ปอดอักเสบ)
จากแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา และพยาธิ
มีหนอง สารน้ำในถุงลม ไม่สามารถ
รับ oxygen ได้
ร่างกายขาด oxygen ถึงแก่ชีวิต
ระยะที่ปอดเริ่มแข็งตัว ( Stage of consolidation)
ระยะที่มีการคั่งของเลือด (Stage of congestion)
ระยะฟื้นตัว (Stage of resolution)
โรคมะเร็งปอด
ระยะที่ 2: ก้อนโตขึ้น และ/หรือ ลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลืองขั้วปอด
ระยะที่ 3: ก้อนโตมาก และ/หรือ ลุกลามเข้าเนื้อเยื่อข้างเคียง
ระยะที่ 1 : ก้อนเล็ก ไม่ลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลือง
ระยะที่ 4: แพร่กระจายเกิดน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอด และ/หรือ เข้าสู่กระแสโลหิต
อาการและอาการแสดง
ไอเรื้อรัง
ไม่มีอาการในระยะแรกจนกระทั่งก้อนโตขึ้น
ขึ้นกับขนาด และบริเวณที่เกิดมะเร็ง
ไอมีเสมหะเหนียวข้น
ไอมีเลือดปน
การผ่าตัด
Lobectomy ตัดปอดกลีบใดกลีบหนึ่งออก
เนื้องอกมีขนาดเล็ก/ยังไม่กระจายไปที่ใด
Emphysematous bleb หรือ Bronchiectasis
มะเร็งปอดระยะแรก
Pneumonectomy การตัดเอาปอดออกทั้งข้าง
ปอดอักเสบ
วัณโรคปอดข้างเดียว
มะเร็งปอด
bronchiectasis
การดูแลหลังผ่าตัดทรวงอก
ความวิตกกังวล
ช่วยดูแลการหายใจ/ทางเดินหายใจให้โล่ง
การช่วยดูแลจัดการความปวด
ช่วยดูแลและบันทึกปริมาณสารน้ำเข้า/ออก
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ช่วยเหลือเรื่องการเคลื่อนไหว
การช่วยดูแลท่อระบายทรวงอก
การพยาบาล
นอนศีรษะสูง เพื่อช่วยให้การระบายสะดวก
ดูแลสายท่อระบายไม่ให้หักพับ อุดตัน เพื่อช่วยให้ปอดข้างที่ดีขยายตัวเต็มที่
นอนตะแคงทับแผลข้างที่ผ่าตัด
นอนตะแคงทับด้านตรงข้าม ช่วยให้ปอดส่วนที่เหลือในข้างที่ผ่าตัดขยายตัวเต็มที่
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ ทุกชั่วโมง