Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการความรู้ในสถานศึกษา - Coggle Diagram
การจัดการความรู้ในสถานศึกษา
การจัดการความรู้ Knowledge Management (KM)
หมายถึง การรวบรวมความรู้สู่การปฏิบัติ ซึ่งเป็นความรู้ที่เกิดจาก การเรียนรู้ เจตคติในงาน ประสบการณ์การทำงานและพฤติกรรมการทำงานของแต่ละบุคคล ซึ่งปฏิบัติงานเรื่องเดียวกันหรือคนละเรื่อง แล้วประชุมหรือสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกันและกัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เมื่อรวบรวมแล้วก็มีการนำความรู้ที่ได้มาสังเคราะห์ วิเคราะห์หรือจัดระบบใหม่ เพื่อสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ ยอมรับข้อดีและจุดที่เป็นปัญหาของกันและกัน
แบ่งได้ 2 ประเภท
ความรู้ฝังลึก เป็นความรู้ที่ไม่สามารถอธิบายโดยใช้คำพูดได้ มีรากฐานจากการกระทำและประสบการณ์ มีลักษณะ เป็นความเชื่อ ทักษะ
ความรู้ที่ชัดแจ้ง เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลักษณะอักษรทฟษฎี คู่มือต่างๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
บทบาทในการจัดการความรู้ของครู
การจัดการความรู้ของตนเอง
การจัดการความรู้ในชั้นเรียน
การจัดการความรู้ของวิทยาลัยพยาบาล
การจัดการความรู้ในชุมชน
พัฒนาตนเองให้มีความสามารถและทักษะในการจัดการความรู้
ขั้นการกำหนดความรู้
ขั้นการแสวงหาความรู้
ขั้นการสร้างความรู้
ขั้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ขั้นการเก็บความรู้
ขั้นการนำความรู้ไปใช้
องค์ประกอบและตัวบ่งชี้การจัดการความรู้ของครู
องค์ประกอบด้านการกำหนดความรู้
องค์ประกอบด้านการแสวงหาความรู้
องค์ประกอบด้านการสร้างความรู้
องค์ประกอบด้านการแลกเปลี่ยนความรู้
องค์ประกอบด้านการเก็บความรู้
องค์ประกอบด้านการนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์ของการจัดการความรู้ในสถานศึกษา
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
ป้องกันการสูญหายของภูมิปัญญา เช่นการ เกษียณอายุ ลาออก หรือเสียชีวิต
เป็นการลงทุนในต้น
ผู้บังคับบัญชาสามารถทำงานเชื่อมโยงกับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ใกล้ชิดกันมากขึ้น
แปรรูปความรู้ให้เป็นทุน
เพื่อการสร้างสรรค์