Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวทางการพัฒนาระบบ การประกันคุณภาพการศึกษา - Coggle Diagram
แนวทางการพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษา
:pencil2:การประกันคุณภาพการศึกษา:pencil2:
การประกันคุณภาพการศึกษา
:<3:เป็นกระบวนการดำเนินงานตามภารกิจของสถานศึกษา เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคมโ
อปก.ของระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
:check:การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
:check:การติดตามตรวจสอบเพื่อควบคุมคุณภาพการศึกษา
:check:การประเมินคุณภาพการศึกษา
แนวคิดและหลักการ
ยอมรับและนำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา
เกิดจากความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่าย
เน้นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
มุ่งพัฒนาการดำเนินงานตามความรับผิดชอบ
เป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนที่ต้องปฏิบัติตามภารกิจ
การเปลี่ยนแปลงในระบบ
การยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 และประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561
นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์และแนวดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
หลักเกณฑ์และแนวดำเนินการ
:star:ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานด้านคุณภาพของผู้เรียน
มาตรฐานด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน
:star:การดำเนินงานของสถานศึกษา
ใช้ผลประเมิน เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อเนื่อง
การประเมินคุณภาพภายใน
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
กำหนดมาตรฐานการศึกษาการวางแผน
:star:การดำเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา
ปรับเปลี่ยนแนวคิดการประเมินคุณภาพการศึกษา
ปรับเปลี่ยนบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ในการประเมินภายในและการประเมินภายนอก
ปรับปรุงมาตรฐานผู้ประเมิน
ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายใน
และนอก
IQA
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
พัฒนาเข้าสู่มาตรฐาน
จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR
การประเมินคุณภาพภายนอก (External Quality Assessment : EQA
ประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
วิเคราะห์ SAR
เยี่ยมชมสถานศึกษา (Site Visit)
ติดตามและตรวจสอบ
รายงานผลการประเมินภายนอก
มาตรฐานของสถานศึกษา (Internal Correction)
การปรับปรุงประเด็นต่าง ๆ ให้ดีขึ้น (Improvement)
การพัฒนานวัตกรรมจากประเด็นต่าง ๆ (Innovation)
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
แนวทางการพัฒนาIQA
1 การกระจายอำนาจ
(Decentralization)
การเปิดโอกาสการมีส่วนร่วม
ในการทำงาน (Participation)
3.การแสดงภาระรับผิดชอบ
ที่ตรวจสอบได้(Accountability)
กระบวนการดำเนินการประกันคุณภาพ
การประเมินคุณภาพภายใน
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การจัดIQA
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2.การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
การทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
4.ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา(แผนกลยุทธ์ 3-5 ปี)
แผนระยะยาว
แผนปฏิบัติการประจำปี (Action Plan/Operation Plan)
แผนระยะสั้น
ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
การบริหารเชิงระบบ
(System Approach)
การใช้วงจรการพัฒนาคุณภาพ (PDCA)
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based Management)
การบริหารแบบมุ่งสัมฤทธิ์ (Total Quality Management)
การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ (Quality System Management)
การใช้ห่วงโซ่คุณภาพ (Chain of quality)