Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กชายนำโชค จิตดี อายุ 8 เดือน Heaemophilus Influenzae Type B,…
เด็กชายนำโชค จิตดี อายุ 8 เดือน Heaemophilus Influenzae Type B
ระบบประสาท
ติดเชื้อ Heaemophilus Influenzae Type B
เข้าสู่กระแสเลือด
Subarachnoid space
มีไข้
เกิดการเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึม
ชักเกรง
สมองขาดออกซิเจน
Meningitis
อาจเกิดอันตรายต่อเซลล์สมอง เนื่องจากเยื่อหุบสมองอักเสบ
ข้อมูลสนับสนุน
จากการตรวจร่างกาย
สัญญาณชีพ
Pulse rate 162 bmp
Blood pressure 102/63 mmHg
Temperature 38.9 ํC
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์
NE 15.56 K/UL : High
CT brain
Hypodensity at BO : Ateral frontal and Temporal lobe
จากการซักประวัติมารดา
มีไข้สูง
หายใจเหนื่อยหอบ
ชัก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินและบันทึกอาการการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทเช่นขนาดรูม่านตาระดับความรู้สึกตัวการรับรู้บุคคลสถานที่เวลาความจำและความสามารถในการทำตามคำสั่งอย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมงในระยะแรก ๆ
จัดให้ผู้ป่วยนอนพักอยู่บนเตียงอากาศถ่ายเทสะดวกจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบไม่ควรทำให้เกิดเสียงดังและไม่ควรรบกวนผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น
วัดและบันทึกสัญญาณชีพอย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินความผิดปกติ
ดูแลให้ได้รับยาตามการรักษาของแพทย์
ติดตามผลตรวจต่าง ๆ เพื่อประเมินภาวะของโรค การรักษา และการวางแผนทางการพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยโรคเยอะหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อไวรัสให้ได้รับยาต้านไวรัสหรือยาปฏิชีวนะส่วนผู้ป่วยเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรคดูแลให้ได้รับยาต้านวัณโรคร่วมด้วย
เสี่ยงต่อการชักซ้ำ เนื่องจากมีไข้สูง
ข้อมูลสนับสนุน
จากการซักประวัติมารดา
เคยชัก
มีไข้สูง
สัญญาณชีพ
Temperature 38.9 ํC
Blood pressure 102/63 mmHg
กิจกรรมการพยาบาล
สังเกตและบันทึกระยะเวลาของการชัก ลักษณะการชัก
สังเกตริมฝีปาก ปลายมือปลายเท้า ลักษณะการหายใจ วัด O2 sat
ดูแลให้การพยาบาลขณะที่มีอาการชักจากไข้สูงอาการชักจากไข้สูงเพื่อป้องกันอันตรายจาก การชัก
ุ6. ดูแลให้เด็กนอนหลับพักผ่อนภายหลังจากมีอาการซักและไม่รบกวนเด็กโดยไม่จำเป็น
ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด ถ้ามีอาการชักจะได้ให้การช่วยเหลือได้ทันท่วงที
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง ถ้ามีไข้สูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส ให้เช็ดตัว ถ้าไข้สูงกว่า 38.5 องศาเซลเซียส ให้เช็ดตัวลดไข้ (tepid sponge) ภายหลังจากเช็ดตัวลดไข้ครึ่งชั่วโมง วัดไข้ซ้ำ ถ้าไข้ยังสูงกว่า 38.5 องศาเซลเซียส ให้ยาลดไข้ตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการชักจากไข้สูง
ระบบทางเดินหายใจ
มีภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากไตเสียหน้าที่
ข้อมูลสนับสนุน
จากการตรวจร่างกาย
ปลายมือปลายเท้าเย็น
Capilary Refill time 4 seconds
On ETT with ventilator
สัญญาณชีพ
Pulse rate 162 bmp
Chest X-ray : RUL atelectasis
ผิวขาวอมเหลือง
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์
BUN 4.9
Cr 0.41 mg/dL
Hct 29.1 g/dL
MCV 75.5 FL
RBC 3.85 10%/uL
SGOT 57 U/L
กิจกรรมการพยาบาล
จัดท่านอน 30-45 ํC
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
ดูแล ETT ให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ช่วยเหลือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ
ดแลให้ได้รับยาขยายหลอดลม เพื่อลดอาการเหนื่อยหอบ
ประเมินสัญญาณชีพ และ O2
ประเมินระดับความรู้สึกตัว อาการ และอาการแสดงของผู้ป่วย เช่น ปลายมือปลายเท้าเย็น ผิวเหลือง Capilary Refill time
ไต
สร้าง
Erythropoietin น้อย
เม็ดเลือดแดง
จับออกซิเจนได้น้อย
พร่องออกซิเจน
ระบบไหลเวียนโลหิต
มีภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เนื่องจากพยาธิสภาพของโรคฮิบ
ข้อมูลสนับสนุน
จากการตรวจร่างกาย
สัญญาณชีพ
Pulse rate 162 bmp
Blood pressure 102/63 mmHg
Temperature 38.9 ํC
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์
NE 15.56 K/UL
LY 2.95 K/UL
WBC 20.5 10%/uL
MO 1.91 K/UL
กิจกรรมการพยาบาล
บันทึกจำนวนน้ำเข้าออกทุก 8 ชั่วโมงหรือบ่อยตามแผนการรักษา เพื่อประเมินการทำงานของไต
3.ดูแลผู้ป่วยให้มีความสมดุลของน้ำและอิเล็กโตรไลท์โดยมีการติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการถ้าพบความผิดปกติรายงานแพทย์ทราบเพื่อการแก้ไข
ลดปัจจัยจะส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดภาวะการติดเชื้อเพิ่มขึ้นใช้เทคนิคในการพยาบาลอย่างมีมาตรฐาน
ส่งเสริมความสุขสบายของผู้ป่วยโดยดูแลสุขวิทยา
ตรวจสอบและบันทึกสัญญาณชีพอาการและอาการแสดงทุก 15 นาทีในชั่วโมงแรกที่ให้สารน้ำทุกๆ 30 นาทีในชั่วโมงที่ 2 แล้วเป็นทุก ๆ 4 ชั่วโมงเมื่ออาการเริ่มคงที
ติดตามผลโลหิตวิทยาโดยดูจากเม็ดโลหิตขาว (WBC) และค่านิวโตรฟิว (neutrophil) เพื่อประเมินภาวะติดเชื้อ
เชื้อฮิบที่อยู่ในระบบทางเดินหายใจ
จับกับ
เซลล์เยื่อบุผิวชนิด nonciliated columnar epithelium of nasopharynx
แทรกผ่านเนื้อเยื่อ
เข้าสู่กระแสเลือด
นางสาวพิมพ์ชนก แซ่ลิ่ม เลขที่ 50 รหัสนักศึกษา 621216800