Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบการจัดสัมมนาแบบ Role play, ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2560).…
รูปแบบการจัดสัมมนาแบบ Role play
เป็นกลุ่มเล็กไม่เกิน 30 คน เน้นลักษณะของปัญหาที่ต้องเผชิญ และขบวนการแก้ปัญหาในลักษณะต่างๆ ผู้เข้าร่วมประชุมแสดงความรู้สึกออกมาตามบทบาทที่ได้สมมุตไว้ดังนี้
ผู้ให้การฝึกอบรม จะต้องเตรียมเรื่อง เนื้อหา
และบทบาทของตัวละครไว้ล่วงหน้า
ผู้แสดงบทบาทจะใช้วิธีอาสาสมัครจากสมาชิกผู้เข้าอบรมเพื่อให้การแสดงบทบาทสมจริง
สมาชิกที่ได้เข้ารับการอบรมที่เป็นผู้ดูจะได้รับการบอกเล่าเรื่องราวและปัญหาอย่างย่อๆ
วิธีการดําเนินงาน
ประธานและเลขานุการต้องทราบและเข้าใจปัญหาอย่างชัดเจนโดยประธานและเลขานุการเป็นผู้ทําหน้าที่ประสานงานอย่างใกล้ชิดระหว่างสมาชิกที่ข้าร่วมประชุม
ประธานอธิบายสถานการณ์สมมติ และบทบาทสมมติแก่สมาชิกที่เข้าร่วมสัมมนา
ประธานจะเลือกผู้ที่จะแสดงในแต่ละบทบาทที่ได้รับการสมมติขึ้น ซึ่งควรใช้วิธีการจับสลากและการเลือกตัวบุคคลไม่ควรบอกให้สมาชิกทราบล่วงหน้า
ประธานควรเปิดโอกาสให้สมาชิก แสดงบทบาทของตนอย่างเต็มที่
ประธานจะดําเนินการอภิปรายหลังจากที่การแสดงจบ โดยการอภิปรายควรเน้นผลที่ได้รบั จากการแสดงในแต่ละบทบาท
องค์ประกอบ
ควรจัดให้ทุกคนมองเห็นเหตุการณ์อย่างทั่วถึง และควรใช้เวลาประมาณ 10-30 นาที
ประธาน และเลข
ผู้เข้าร่วมสัมมนา
ตัวอย่างบทบาทสถานการณ์สมมุติ
ข้อดี
ช่วยกระตุ้นให้เข้ารับการอบรมเกิดความสนใจในเรื่องที่จะอบรม
เป็นการส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมได้แสดงออกด้วยการปฏิบัติจริงทําให้เกิดประสิทธิภาพของการเรียนรู้เพิ่มขึ้น
เปิดโอกาาสให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทดลองแสดงบทบาทเพื่อใหเ้กิดความเข้าใจและหาข้อสรุปได้
ข้อจำกัด
การใช้เทคนิคนี้ผู้ที่ให้การอบรมหรือวิทยากรอาจจะมีความยุ่งยากเกี่ยวกับการเตรียมการล่วงหน้า
การแสดงบทบาทสมมุติจะต้องใช้เวลามาก ซึ่งมีผลต่อระยะเวลาของการฝึกอบรมโดยรวม
การหาอาสาสมัครเพื่อแสดงบทบากเป็นอุปสรรค เพราะบางคนไม่กล้าแสดงออก
ผู้ให้การฝึกอบรมต้องเป็นผู้มีความสามารถในการเชื่อมโยงความคิดของสมาชิกที่เข้าอบรมไปสู่ข้อสรุปได้
ประโยชน์จากการทำ mind mapping
ทำให้ทราบความหมายของสัมมนาในรูปแบบ Role play และเข้าใจวิธีการหรือขั้นตอนในการจัดสัมมนามากขึ้น
ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2560). ความรู้ทั่วไปกับการสัมมนา