Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้วยความเอื้ออาทรในผู้ที่มี ความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติสารเ…
การพยาบาลด้วยความเอื้ออาทรในผู้ที่มี ความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติสารเคมีในสมอง
ความวิตกกังวล
เป็นอาการที่เกิดขึ้นได้ในคนทั่วไปเมื่อมีความเครียดเข้ามากระทบทำให้รู้สึกสับสน หวาดหวั่น วิตก อึดอัด ไม่มีความสุขควบคู่ไปกับการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย เช่น มือสั่น ตัวสั่น ปัสสาวะบ่อย ปั่นป่วนในท้อง ลุกลี้ลุกลน
หมายถึง ความรู้สึกไม่สบายใจ หวาดหวั่น ไม่มั่นใจต่อสภาพการณ์ในอนาคต เกร่งว่าจะเกิดอัยตรายหรือความเสียหาย ขณะเดียวกันจะมีความสุขสบายทางกายร่วมด้วย
ลักษณะอาการทางคลินิก
7.คลื่นไส้ ท้องไส้ปั่นป่วน
8.มึนงง วิงเวียน ปวดศรีษะหรือเป็นลม
6.เจ็บหน้าอก กลืนแน่นหน้าอก
9.มีความรู้สึกร้อนๆหนาวๆ
5.รู้สึกอึดอัดหรือหายใจขัด
10.รู้สึกชาหรือเสียวซ่าตามผิวหนัง
4.หายใจไม่อิ่มหรือหายใจขัด
11.รู้สึกว่าสิ่งแวดล้อมแปลกไปหรือไม่คุ้นเคย คือรู้สึกว่าตนเองแปลกไป เปลี่ยนแปลงไป
3.ตัวสั่น
12.กลัวควบคุมตัวเองไม่ได้ หรือกลัวเป็นบ้า
2.เหงื่อยแตก
13.กลัวว่าตนเองกำลังจะตาย
1.ใจสั่น ใจเต้นแรงคือหัวใจเต้นเร็วมาก
โรคความวิตกกังวล
ความผิดปกติทางจิตกำหนดโดยความวิตกกังวลและความกลัวความวิตกกังวลเป็นความวิตกกังวลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคตและความกลัว เป็นปฏิกิริยาต่ออาการณ์ปัจจุบัน
อาการวิตกกังวลที่มากเกินไป
2.มีอาการเป็นอยู่นานเกินไปหรืออาการที่เกิดขึ้นยังคงอยู่แม้สิ่งกระตุ้นหรือเหตุการณ์ต่างๆได้ผ่านไปหมดแล้ว
3.อาการที่เป็นอยู่ส่งผลกระทบต่อการเรียน การทำงาน การใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น และรบกวนกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากต้องหลีกเลี่ยงกิจกรรมบางอย่างเพื่อลดความวิตกกังวล
1.มีอาการรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีสิ่งมากระตุ้น
โรควิตกกังวลผิดปกติ(Anxiety Disorders) หมายถึง ภาวะที่บุคคลเกิดความรู้สึกตระหนัก หวาดหวั่น สะพรึงกลัวโดยไม่มีสาเหตุที่ชัดเจน ร่วมกับมีอาการหลายอย่างซึ่งสาเหตุมาจากระบบประสาทอัตโนมัติทำงานมากเกินไป
สาเหตุ (Panic Disorder)
1.ปัจจัยด้านชีวภาพ
2.ปัจจัยด้านจิตใต
การบำบัดรักษาพยาบาล
2.การบำบัดด้านจิตใจคือการทำจิตบำบัด
3.การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
1.การบำบัดด้านร่างกาย
การพยาบาล
1.การประเมินผู้ป่วย
ด้านอารมณ์= วิตกกงวล เศร้า เสียใจ ตึงเครียด กลัวว่าตนเองจะตายหรือเป็นบ้า
ด้านความคิด= ผู้ป่วยอาจมีความคิดฆ่าตัวตาย
ด้านร่างกาย= ผู้ป่วยจะบอกถึงอาการทางกาย เช่น ใจสั่น เจ็บหน้าอก
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีความวิตกกังวลอย่างรุนแรง เนื่องจากรับรู้ว่ามีการคุกคามต่อชีวิต
3.ปฏิบัติการพยาบาล
มาที่การหายใจของผู้ป่วย
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ไม่มีสิ่งกระตุ้นให้เกิดอาการ panic มากขึ้น
เพื่อลดความวิตกกังวล ไม่ให้มากจนถึงอาการแพนิค
แจ้งให้ผู้ป่วยและญาติรับทราบเกี่ยวกับอาการไม่พึ่งประสงค์จากการใช้ยาที่อาจเกิดขึ้นเพื่อลดความมิตกกังวล
พยาบาลแสดงท่าที่สงล ไม่คุกคามผู้ป่วย สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจและรู้สึกปลอดภัย