Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาวนภวรรณ ภาระตะวัตร รหัสนักศึกษา 624N46136, โรควิตกกังวลผิดปกติ …
นางสาวนภวรรณ ภาระตะวัตร รหัสนักศึกษา 624N46136
โรควิตกกังวลผิดปกติ
(Anxiety Disorders)
Panic Disorder
ลักษณะอาการทางคลินิก : อาการตื่นกลัวสุดขีดเกิดขึ้นรวดเร็วและรุนแรงเกิดซํ้า บ่อยๆ รุนแรง ในเวลาประมาณ 10-15 นาที แล้วค่อยค่อยทุเลาลงไม่เกิน 1 ชั่วโมง มีอาการต่อไปนี้เกิดขึ้นอย่างน้อย 4 อาการ ได้แก่
1 ใจสั่น ใจเต้นแรงคือหัวใจเต้นเร็วมาก
2 เหงื่อแตก
3 ตัวสัน
4 หายใจไม่อิ่มหรือหายใจขัด
5 รู้สึกอึดอัดหรือแน่นอยู่ข้างใน
6 เจ็บหน้าอก กลืนแน่นหน้าอก
7 คลื่นไส้ ท้องไส้ปั่นป่วน
8 มึนงง วิงเวียน ปวดศีรษะหรือเป็นลม
9 มีความรู้สึกร้อนๆหนาวๆ
10 รู้สึกชาหรือเสียวซ่าตามผิวหนัง
11 รู้สึกว่าสิ่งแวดล้อมแปลกไปหรือไม่คุ้นเคย คือรู้สึกว่าตนเองแปลกไป เปลี่ยนแปลงไป
12 กลัวควบคุมตัวเองไม่ได้ หรือกลัวเป็นบ้า
13 กลัวว่าตนเองกําลังจะตาย
สาเหตุ
ปัจจัยด้านชีวภาพ
1 พันธุกรรม โรคนี้สามารถถ่ายทอดผ่านทางพันธุกรรมประมาณร้อยละ 48 2 กายวิภาคของสมอง จากพบความผิดปกติของระบบลิมปิก ซึ่งเป็นสมองส่วนอารมณ์
3 ความสมดุลของสารสื่อประสาท พบว่ามีการเพิ่มขึ้นของ norepinephrine
ปัจจัยด้านจิตใจ : ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เชื่อว่า ผู้ป่วยโรคแพนิคมักจะเกิดขึ้นภายหลังการแยกจาก หรือภาวะสูญเสีย โดยพบว่าการเกิดอาการตื่นตระหนกในครั้งแรกนั้นมักสัมพันธ์กับการสูญเสียบุคคล อันเป็นที่รัก
การบําบัดรักษาพยาบาล
การบําบัดด้านจิตใจ
พฤติกรรมบําบัด : มุ่งเปลี่ยนแปลงหรือลดพฤติกรรมที่ไม่พึง ประสงค์ โดยเป็น วิธีการรักษาในระยะสั้นและแก้ปัญหาแบบเฉพาะเจาะจง
จิตบําบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม : มี จุดมุ่งหมาย สําคัญ 2 ประการคือ
1เพื่อช่วยลดอาการของผู้ป่วย
2เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจใน
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด
การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความมั่นใจและรู้สึกปลอดภัย
ผู้บําบัดควรมีลักษณะจริงใจ แสดงความยอมรับในอาการของผู้ป่วย การให้ข้อมูลที่เป็น จริงเกี่ยวกับ อาการที่เกิดขึ้น
การบําบัดด้านร่างกาย
การรักษาด้วยยา (pharmacotherapy) การบริหารยาในการรักษาโรควิตกกังวลคือให้ยา คลายกังวลควบคู่ไปกับการให้ยาแก้ซึมเศร้าเนื่องจากยารักษาโรค ซึมเศร้าใช้ระยะเวลาออกฤทธิ์นาน จึงมักจะเริ่มยาคลายกังวลคู่กับ ยากลุ่ม anxiolytic agent
Phobia Disorder
ลักษณะอาการทางคลินิก
Agoraphobia เป็นความกลัวการอยู่คนเดียวในที่สาธารณะ
Social Phobia เป็นความกลัวถูกผู้อื่นจ้องมอง
Specific Phobia เป็นการกลัวสัตว์ วัตถุหรือสิ่งของเฉพาะ
สาเหตุ
ปัจจัยด้านชีวภาพ :
1 สมดุลปริมาณสารสื่อประสาท
2 การทํางานของสมอง
ปัจจัยด้านจิตใจ : ทฤษฎีการเรียนรู้เชื่อว่า โรคกลัวมีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่สร้างความ สะเทือนใจ
การบําบัดรักษาพยาบาล
การบําบัดด้านร่างกาย
การรักษาด้วยยา (pharmacotherapy) นิยมใช้ต้านอารมณ์เศร้า (antidepressant drugs) กลุ่ม SSRIS ยาคลายกังวลกลุ่ม benzodiazepine
การบําบัดด้านจิตใจ
พฤติกรรมบําบัด : เป็นการลดความรู้สึกวิตกกังวลอย่างมีระบบ
จิตบําบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม : การส่งเสริมการใช้ เทคนิคการผ่อนคลายความเครียด ซึ่งเป็นวิธีการบําบัดที่ ได้ผลดีกับโรคกลัว
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด
การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น เพื่อให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจและรู้สึกปลอดภัย
ผู้บําบัดควรมีลักษณะจริงใจ แสดงการยอมรับในอาการของผู้ป่วย
Generalized Anxiety Disorder (GAD)
ลักษณะอาการทางคลินิก
อย่างน้อย 5 เดือน ร่วมกับมีอาการในต่อไปนี้อย่างน้อย 3 อาการ
1 อยู่นิ่งไม่ได้ กระสับกระส่าย (restlessness)
2 อ่อนเพลียและเหนื่อยง่าย (fatigue)
3 ไม่มีสมาธิ (impaired Concentration)
4 หงุดหงิดง่าย irritability)
5 กล้ามเนื้อตึงเครียด ปวดเมื่อย (muscle tension)
6 มีปัญหาด้านการนอน (sleep disturbance)
สาเหตุของ
ปัจจัยสาเหตุด้านชีวภาพ :
1 การลดลงของ GABA
2 การลดลงของระดับ serotonin
3 การเพิ่มมากเกินไปของ norepinephrine
ปัจจัยทางด้านจิตใจ : แนวคิดทฤษฎีจิตวิเคราะห์เชื่อว่า อาการวิตกกังวลเกิดจากความขัดแย้งของ จิตไร้สํานึก มี ความผิดปกติในแง่ของการรับรู้และการแปลผลต่อเหตุการณ์ในลักษณะมองโลกในแง่ ร้าย แ
การบําบัดรักษาพยาบาล
การบําบัดด้านร่างกาย
การรักษาด้วยยากลุ่ม benzodiazepine แต่จะใช้ในช่วงสั้นๆเท่านั้น
การบําบัดด้านจิตใจ
จิตบําบัดแบบจิตพลวัต : พยายามช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจสาเหตุของความวิตกกังวล
จิตบําบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม : มุ่ง ปรับแก้ ความคิดที่บิดเบือน
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด
การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น : จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ลดสิ่งกระตุ้น
ผู้บําบัดควรมีลักษณะจริงใจ : แสดงการยอมรับในอาการของผู้ป่วย
ส่งเสริมการจัดกิจกรรมและกระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรม : เพื่อเบี่ยงเบนความวิตก กังวล
Obsessive-Compulsive Disorder (OCD)
ลักษณะอาการทางคลินิก แบ่งเป็น2 ประการ
อาการย้ำคิด (obsessive) คือ การมีความคิด ความรู้สึกหรือแรงกระตุ้นให้กระทําอะไรบางอย่าง ซ้ำ ๆ
อาการย้ำทํา (compulsive) คือ การกระทําอย่างมีเป้าหมายชัดเจนซ้ำๆ เพื่อป้องกันหรือลด ความไม่สบายใจ
สาเหตุของ
ปัจจัยสาเหตุด้านชีวภาพ : พันธุกรรม , ระดับ serotonin มีความผิดปกติ , การทํางานผิดปกติของสมองใหญ่ส่วนหน้า
ปัจจัยทางด้านจิตใจ : แนวคิดทฤษฎีจิตวิเคราะห์เชื่อว่า อาการย้ำคิดย้ำทําเกิดจากการที่ผู้ป่วยใช้ กลไกการป้องกัน ตัวเองทางจิตเพื่อจัดการกับความรู้สึกขัดแย้งในระดับจิตไร้สํานึก
การบําบัดรักษาพยาบาล
การบําบัดด้านร่างกาย
ยาที่นิยมใช้รักษาโรคย้ำคิดย้ำทํา ได้แก่ ยาต้านอารมณ์เศร้า (antidepressant drugs) กลุ่ม SSRIS และกลุ่ม TCAS
การบัดด้านจิตใจ
พฤติกรรมบําบัด , จิตบําบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม , การบําบัดทางความคิด
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด
การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น : สงบ ลดสิ่งกระตุ้น
ผู้บําบัดควรมีลักษณะจริงใจ : แสดงการยอมรับในอาการของผู้ป่วย
จัดกิจกรรมอื่นที่น่าสนใจและกระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรม : เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ จากความคิด และพฤติกรรมซ้ำ ๆของผู้ป่วย
Post-Traumatic Stress Disorder (PTSD)
ลักษณะอาการทางคลินิก
ผู้ป่วยจะมีอาการหวาดกลัวอย่างรุนแรง รู้สึกสิ้นหวัง การนอนแปรปรวน ตกใจง่าย หงุดหงิด ง่าย กระสับกระส่าย คิดถึงเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนใจบ่อย ๆ ฝันร้ายบ่อย ๆ กลัว โกรธ ความ สนใจในสิ่ง ต่าง ๆลดลงอย่างมาก
สาเหตุของ
ปัจจัยสาเหตุด้านชีวภาพ :
1 การทํางานที่ผิดปกติของยีนที่ควบคุมการทํางานของตัวรับ dopamine
2 การเผชิญความเครียดจากเหตุการณ์นานๆ
ปัจจัยทางด้านจิตใจ : แนวคิดจิตวิเคราะห์เชื่อว่า เหตุการณ์รุนแรงที่เกิดขึ้นไปกระตุ้นความขัดแย้งในจิตไร้ สํานึกที่ยังไม่ได้รับ การแก้ไข ทําให้ผู้ป่วยเกิดพฤติกรรมถดถอยและหันไปใช้กลไกการป้องกันตนเอง
การบําบัดรักษาพยาบาล
การบําบัดด้านร่างกาย
ยาที่นิยมใช้รักษา Post-traumatic stress Disorder
การบําบัดด้านจิตใจ
เน้นให้ผู้ป่วยเข้าใจบุคลิกภาพของตน ร่วมกับวิธีการ ปรับตัวและผ่อนคลายความเครียด ต่างๆ
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด
1 การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น : สงบ ลดสิ่งกระตุ้น
2 ผู้บําบัดควรมีลักษณะจริงใจ : แสดงการยอมรับในอาการของผู้ป่วย
การพยาบาล
1 สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจและรู้สึกปลอดภัย
2 ประเมินระดับความวิตกกังวลด้วยการรวบรวมข้อมูลทั้งจากแบบประเมิน แบบสอบถาม การประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
3 ผู้ป่วยควรได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ความเครียด และ ปัญหา การใช้สารเสพติด
4 ให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
5 ระยะแรกของการเผชิญเหตุการณ์ที่สะเทือนใจ
6 ให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจด้วยการทําจิตบําบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม
7 สนับสนุนให้กําลังใจ ให้การปรึกษาและชื่นชมเมื่อผู้ป่วยแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม
8 ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา พร้อมทั้งประเมินอาการที่ไม่พึงประสงค์