Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้วยความเอื้ออาทรในผู้ที่มีความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติ,…
การพยาบาลด้วยความเอื้ออาทรในผู้ที่มีความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติ
สารเคมีในสมอง
1 แอซิติลโคลีน การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ การควบคุมพฤติกรรม ความจำ สมาธิ และการเรียนรู้
แอซิติลโคลีน ต่ำ สมาธิสั้น ความจำไม่ดีโดยเฉพาะความจำระยะสั้น
2 โดพามีน สารแห่งความสุข ปล่อยมาเมื่อเรารู้สึกพึงพอใจ
โดพามีนต่ำ กล้ามเนื้อเกร็งกระตุก สั่น เช่นโรคพาร์กินสัน ซึมเศร้า
โดพามีนสูงเกินไป เกิดโรคทางจิตเภท ความคิดฟุ้งซ่าน ควบคุมสติไม่ได้ คุ้มคลั่งเหมือนการเสพยาบ้า
3 นอร์เอพิเนฟริน หลั่งเมื่อกลัวและเครียด การ์ตูนอัตราการเต้นหัวใจและเพิ่มความดันโลหิต ร่างกายหลังศาลเอพิเนฟรินสูงในตอนเช้าเพื่อกระตุ้นให้รู้สึกตื่นตัวและพร้อมทำกิจกรรม
นอร์เอพิเนฟรินต่ำ เซื่องซึม ไม่ตื่นตัว ไม่กระตือรือร้น
นอเอพิเนฟรินสูง กระวนกระวาย วิตกกังวล นอนไม่หลับ
4 ซีโรโทนิน ควบคุมสภาพอารมณ์ ความรู้สึกเจ็บปวด ความหิว การหายใจ การนอนหลับ แล้วพฤติกรรม ถ้าระดับซีโรโทนินต่ำจะทำให้วิตกกังวล ก้าวร้าว ซึมเศร้า
ซีโรโทนินต่ำ ซึมเศร้า วิตกกังวล ยังคิดย้ำทำ ขาดความเชื่อมั่น อารมณ์แปรปรวน และอาจทำร้ายตัวเองได้
เซโรโทนินสูงเกินไป มีอาการทางจิต คุ้มคลั่ง อารมณ์ไม่ได้ เป็นนายเด็กปัญญาอ่อนหรือออทิสติกได้
5 กาบา สารยับยั้งกระแสประสาททำให้สมองรับการกระตุ้นเกิดสมดุลและผ่อนคลายลง
6 เอนดอร์ฟิน สารที่ออกฤทธิ์คล้ายสารเสพติด รู้สึกผ่อนคลาย หายจากความเจ็บปวด สร้างความรู้สึกเคลิบเคลิ้ม พอใจ หลั่งออกมาขณะออกกำลังกาย ตื่นเต้น หรือมีเพศสัมพันธ์
โรควิตกกังวล
การทำงานของสารในสมองกับโรคและความวิตกกังวล
กลไกทางชีวภาพ
ระดับที่ลดลงของกดกากบาทเป็นสารสื่อประสาทมีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานระบบประสาทส่วนกลางมีส่วนให้เกิดความวิตกกังวล ยาแก้วิตกกังวลบางอย่างออกฤทธิ์ควบคุมตัวรับกาบ้าเป็นยาที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้ามากที่สุด บ่อยครั้งพิจารณาเป็นการรักษาอันดับแรกสำหรับโรควิตกกังวล
ความวิตกกังวลที่ผิดปกติหรือไม่พิจารณาดังนี้
ความกังวลเกิดขึ้นมากเกินกว่าจะอธิบายได้ด้วยความเครียดที่มากระตุ้น
ความกังวลเกิดขึ้นมีความรุนแรงมาก
ความกังวลเกิดขึ้นยังคงอยู่แม้สิ่งกระตุ้นหมดไปแล้ว
ความวิตกกังวลเกิดขึ้นทำให้รบกวนกิจวัตรประจำวันในหน้าที่การงานต่างๆ
ความวิตกกังวลคือรู้สึกไม่สบายใจ ไม่มั่นใจต่อสภาพการณ์ในอนาคต เกรงว่าจะเกิดอันตราย จะมีความไม่สุขสบายทางกาย มีผลเสียต่อสุขภาพบุคคลได้ถ้าเกิดเป็นระยะเวลานาน
โรควิตกกังวลมีปัจจัยจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
-ปัจจัยเสี่ยงรวมทั้งประวัติถูกทารุณกรรมในวัยเด็ก
-ประวัติความผิดปกติทางจิตในครอบครัวและความยากจน
-มักเกิดร่วมกับความผิดคนอื่นๆโดยเฉพาะโรคซึมเศร้า
-ความผิดปกติทางบุคลิก การเสพสารเสพติด
อาการวิตกกังวลมากเกินไปมีลักษณะอาการดังนี้
อาการรุนแรงขึ้นเรื่อยๆเมื่อมีสิ่งมากระตุ้น
อาการเป็นอยู่นานเกินไปหรือเกิดขึ้นอย่างอยู่สิ่งกระตุ้นหรือเหตุการณ์ผ่านไปหมดแล้ว
อาการเป็นอยู่ส่งผลต่อการเรียนการทำงานการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในรบกวนกิจวัตรประจําวันเนื่องจากต้องหลีกเลี่ยงกิจกรรมบางอย่างเพื่อลดความวิตกกังวล
ต้องมีอาการอย่างน้อย 6 เดือน หรือมีความวิตกกังวลเกินเหตุและมีปัญหาในการดำเนินชีวิต
ถ้าไม่รักษาโรคจะไม่หาย
การรักษารวมทั้งการเปลี่ยนสไตล์ชีวิต จิตบำบัด การทานยา
ติดบำบัดจะเป็นรูปแบบหนึ่งของการบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม
ยาเช่นยาแก้ซึมเศร้าหรือเบต้าบล็อกเกอร์ เกิดในหญิงมากกว่าชาย 2 เท่าทั่วไปเริ่มก่อนอายุ 25 ปี
โรคตื่นตระหนก Panic Disorder
ผู้ป่วยจะแสดงด้วยอาการตื่นกลัวสุดขีด ไม่มีอาการทางกายหลายอย่าง เกิดเร็วและรุนแรงขึ้นเรื่อยๆเกิดซ้ำๆบ่อยๆ เกิดเองโดยไม่มีสิ่งมากระตุ้น เกิดเร็วรุนแรงในเวลาประมาณ 10-15 นาทีแล้วค่อยๆทุเลาลงไม่เกิน 1 ชั่วโมง
อาการแพนิคเกิดอย่างน้อย 4 อาการ ได้แก่
1 ใจสั่นใจเต้นแรงเต้นเร็วมาก
2 เหงื่อแตก
3 หายใจไม่อิ่มหายใจขัด
4 ตัวสั่น
5 รู้สึกอึดอัดแน่นอยู่ข้างใน
6 เจ็บหน้าอกแน่นหน้าอก
7 คลื่นไส้ท้องไส้ปั่นป่วน
8 มึนงงวิงเวียนปวดศีรษะหรือเป็นลม
9 รู้สึกร้อนๆหนาวๆ
10 รู้สึกชาหรือเสียวซ่าตามผิวหนัง
11 รู้สึกว่าสิ่งแวดล้อมแปลกไปไม่คุ้นเคยคือรู้สึกตัวเองแปลกไปเปลี่ยนไป
12 ควบคุมตัวเองไม่ได้หรือกลัวเป็นบ้า
13 กว่าว่าตนเองกำลังจะตาย
สาเหตุ
ด้านชีวภาพ
พันธุกรรม สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมประมาณร้อยละ 48
กายวิภาคของสมอง ข้อความถึงมือในการทำหน้าที่เชื่อมต่อข้อมูลของกันและกันของระบบลิมปิกป็นสมองส่วนอารมณ์
ความสมดุลสารสื่อประสาท มีการเพิ่มขึ้นของนอเอพินีฟิน
ด้านจิตใจ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เชื่อว่าผู้ป่วยโรคแพนิคเกิดภายหลังการแยกจากหรือภาวะสูญเสียพบว่าเกิดอาการตื่นตระหนกครั้งแรกนั้นมักสัมพันธ์กับการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
การบำบัดรักษาพยาบาล
บำบัดด้านร่างกาย
รักษาด้วยยา ให้ยาคลายกังวลควบคู่กับยาแก้ซึมเศร้า (เริ่มจากกลุ่ม ssriเป็นยาขนาดแรก) เป็นกลุ่มยารักษาโรคซึมเศร้าออกฤทธิ์นาน
ตัวอย่างกลุ่มยานี้เช่น
-ฟูลออกซิทีน
-เซอร์ทราลีน
-เอสซิตาโลแพรม
Benzodiapines เป็นยาทางจิตเวชช่วยให้คลายกล้ามเนื้อลดอาการกรนสบายนอนไม่หลับชักและอาการถอนเหล้า
บำบัดด้านจิตใจคือการทำจิตบำบัดประกอบด้วย
พฤติกรรมบำบัด
จิตบำบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
สร้างบรรยากาศที่อบอุ่น
ผู้บำบัดควรมีลักษณะจริงใจ
การพยาบาล
1 การประเมินผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ผู้ป่วยบอกถึงอาการ เช่น ใจสั่น เจ็บหน้าอก
ด้านอารมณ์
วิตกกังวล เศร้า เสียใจ ตึงเครียด กว่าตนเองจะตายหรือเป็นบ้า
ด้านความคิด
มีความคิดฆ่าตัวตาย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีความวิตกกังวลรุนแรงเนื่องจากรับรู้ว่ามีการคุกคามต่อชีวิต
ปฏิบัติการพยาบาล
-พยาบาลแสดงท่าทีสงบ
-ตระหนักถึงความรู้สึกกลัวของผู้ป่วย ใช้ทักษะฟัง สะท้อนความรู้สึกและการให้กำลังใจ
-ถ้ามีอาการหายใจเร็วให้ผู้ป่วยหายใจในถุงกระดาษและมุ่งความสนใจ
-จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบไม่มีสิ่งกระตุ้นเกิดอาการแพนิคมากขึ้น
-สอนและให้การปรึกษาหลักการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม
-แนะนำรับประทานอาหารเพื่อคงไว้ความสมดุลและไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่น
-ให้กำลังใจให้คำปรึกษาและชื่นชมผู้ป่วยเมื่อแสดงออกพฤติกรรมที่เหมาะสม
-ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและประเมินประสิทธิภาพและผลข้างเคียงของยา
-ภายหลังได้รับยาควรวัดสัญญาณชีพอย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
-แจ้งให้ผู้ป่วยไร้ญาติทราบเกี่ยวกับอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาที่เกิดขึ้น
โรคกลัว Phobia Disorders
เป็นอาการควรในสิ่งที่ไม่น่ากลัวมากไม่สมเหตุผลหรือกลัววัตถุหรือสิ่งที่ไม่น่ากลัว ผู้ป่วยทราบว่าตนเองกลัวเกินเหตุแต่ห้ามความกลัวไม่ได้พยายามหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่ทำให้กลัว
ผู้ป่วยมาแสดงอาการหวาดกลัวรุนแรงสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือสถานที่เฉพาะสิ่งเร้าบางอย่างเท่านั้นเช่น โรคควรเจ้านาย โรคกลัวการลงโทษ โรคกลัวที่ทำงาน โรคกลัวความล้มเหลว โรคกลัวการตัดสินใจ
ลักษณะทางคลินิก 3 กลุ่มอาการ
1 agoraphobia
กลัวการอยู่คนเดียวในที่สาธารณะ อยู่ในฝูงชนหรือในสถานที่ที่ผู้ป่วยสามารถหลบหนีออกสถานที่นั่นได้ยากเช่นตลาดหรือผู้คนมากมาย หรือการครัวที่ห้องกว้างๆเช่นสะพานลอยยาวๆที่ไม่มีหลังคา
2 Social phobia
กว่าที่ต้องไปอยู่ในสถานที่ที่ผู้คนจ้องมองหรือตกเป็นเป้าสายตาถูกวิจารณ์ดูถูกกว่าทำให้อับอาย
3 Specific phobia
เป็นการขวดสัตว์วัตถุหรือสิ่งของเฉพาะหรือกลัวเหตุการณ์บางเฉพาะเช่นกลัวแมงมุม กลัวเลือด เข็มฉีดยา การนั่งเครื่องบิน พายุ เป็นต้น
สาเหตุของโรคกลัว
ปัจจัยด้านชีวภาพ
สมดุลปริมาณสารสื่อประสาท
พบสันนอเอพิเนฟรินและ อิพิเนฟินมากกว่าคนปกติ
การทำงานของสมอง
ความกลัวและลืมความกลัวการทำงานของสมอง ในระบบลิมบิกโดยเฉพาะ 0 กลางของอารมณ์ส่งผลในการควบคุมอารมณ์และพฤติกรรมจะสัมพันธ์กับการเอาชีวิตรอดของมนุษย์
ปัจจัยด้านจิตใจ
ทฤษฎีการเรียนรู้เชื่อว่าโรคกลัวสัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่สร้างความสะเทือนใจ เช่นเคยถูกสุนัขกัดตอนเด็ก
การบำบัดรักษาพยาบาล
1บำบัดด้านร่างกาย
รักษาด้วยยาชายต้านอารมณ์เศร้ากลุ่ม s s r i s ยาคลายกังวลกลุ่ม benzodiazepine
2 การบำบัดด้านจิตใจคือการทำจิตบำบัด
พฤติกรรมบำบัด
จิตบำบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม
3 จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
สร้างบรรยากาศที่อบอุ่นให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัย
ผู้บำบัดควรมีลักษณะสินใจแสดงการยอมรับในอาการผู้ป่วย
การพยาบาล
ประเมินผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ถ้าความรุนแรงมากควรประเมินอาการทางกายจาก panic attack
ด้านอารมณ์
กลัวต่อสิ่งต่างๆที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยอย่างไร
ในความคิด
ประเมินการรับรู้สิ่งคุกคามที่ทำให้ผู้ป่วยกลัวและผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
รู้สึกกว่าที่ไม่สมเหตุสมผลเนื่องจากอยู่ในสถานการณ์ที่บุคคลรู้สึกว่าอาจทำให้เกิดรายได้
แยกตัวจากสังคมเนื่องจากครัวสถานที่ที่บุคคลไม่สามารถหนีได้
ปฏิบัติการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดยอมรับครอบครัวของผู้ป่วย
ประเมินความวิตกกังวลด้วยการรวบรวมข้อมูลจากการประเมิน แบบสอบถาม
พูดคุยสถานการณ์เป็นจริงและตระหนักว่าพฤติกรรมของเขาเป็นวิธีแก้ไขความวิตกกังวล
ตรวจสอบสิ่งที่ผู้ใหญ่วัดกลัวทั้งด้านร่างกายหรือแนวคิดส่วนบุคคลพร้อมประเมินการรับรู้ต่อความกลัว
เมื่อการควรลดลงควรเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกถึงเหตุการณ์ต่างๆที่วาดกลัว
ร่วมกับผู้ป่วยหาเป้าหมายและทางเลือกในการเผชิญความโกรธที่เหมาะสม
จัดให้เข้ากับคุมปรับความคิดและพฤติกรรม
ให้กำลังใจในการทดลองปฏิบัติและชื่นชมผู้ป่วยที่สามารถควบคุมความกลัวได้เหมาะสม
หลีกเลี่ยงการหาเหตุผลมาอธิบายผู้ป่วยเนื่องจากเป็นการเพิ่มความวิตกกังวลและให้ผู้ป่วยรู้สึกไม่มั่นใจในตัวเองมากขึ้น
สอนและให้คำปรึกษาความรู้การดูแลตัวเองและเทคนิควิธีการผ่อนคลายเพื่อลดความวิตกกังวล
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยากังวลตามแผนการรักษาและประเมินประสิทธิภาพและผลข้างเคียงของยา
หนังโป๊ได้รับยาพร้อมแจ้งให้ผู้ป่วยไร้ญาติรับทราบและติดตามและเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์
Generalized Anxiety Disorders (GAD):โรควิตกกังวล
ภาวะวิตกกังวลและเหตุผลเรื่องที่ตกกังวลจะเป็นเรื่องทั่วๆไปเรื่องงานเรื่องเรียน ผู้ป่วยรู้สึกกลัวหรือวันๆคาดการณ์ไปล่วงหน้าต่อเหตุการณ์ในชีวิตและยังไม่สามารถบังคับตัวเองให้หยุดกินได้มีอาการทางระบบประสาท
ลักษณะทางคลินิก
เขาวิตกกังวลต่อเนื่องนานอย่างน้อย 5 เดือนร่วมกับมีอาการอย่างน้อย 3 ประการ
อยู่นิ่งไม่ได้กระสับกระส่าย
อ่อนเพลียและเหนื่อยง่าย
ไม่มีสมาธิ
หงุดหงิดง่าย
กล้ามเนื้อตึงเครียดปวดเมื่อย
มีปัญหาด้านการนอน
สาเหตุ GAD
ปัจจัยด้านชีวภาพ
ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่คาดว่าเกี่ยวกับสารสื่อประสาทดังนี้
GaBaลดลง น้อยเกินไป สมองไม่ผ่อนคลายการควบคุมความคิด อารมณ์น้อยลง ทำให้เกิดวิตกกังวลมากกว่าเหตุ
Serotoninลดลง เกิดอาการติดในแง่ลบ คิดมาก นอนไม่หลับ ขาดสมาธิ
norepinephrine เพิ่มมากเกินไป มีผลต่ออารมณ์และความเครียดที่เร็วหรือมากเกิน นำไปสู่ความวิตกกังวลและอาการทางกายต่างๆ
ด้านจิตใจ
แนวคิดทฤษฎีเจอข้อเชื่อว่าอาการวิตกกังวลเกิดจากความขัดแย้งจิตไร้สำนึกมีความดีในแง่การรับรู้และแปลผลต่อเหตุการณ์ในลักษณะมองโลกในแง่ร้ายจึงทำให้เกิดความรู้สึกกลัวและวิตกกังวล
การบำบัดรักษาพยาบาล
ด้านร่างกาย
รักษาด้วยกลุ่มยา benzodiazepine บางรายอาจใช้ยากลุ่ม ssris ร่วมด้วย
ด้านจิตใจคือการทำจิตบำบัดประกอบด้วย
จิตบำบัดแบบจิตพลวัต
พยายามช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจสาเหตุของความวิตกกังวล
จิตบำบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม
มุมปรับแก้ความคิดที่บิดเบียนคือการมองตนเองด้านลบของผู้ป่วย
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
สร้างบรรยากาศที่อบอุ่น
ผู้บำบัดควรมีลักษณะจริงใจ
ส่งเสริมการจัดกิจกรรมและกระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้ากิจกรรม
การพยาบาล
ประเมินผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
มีอาการเช่นหายใจไม่อิ่มใจสั่นปวดศีรษะนอนไม่หลับ
ด้านอารมณ์
วิตกกังวลทุกข์ใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในชีวิตและเรื่อง
ความคิด
ผู้ป่วยอาจมีความคิดฆ่าตัวตายเพราะต้องการมีความทุกข์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากใช้วิธีการเผชิญความเครียดไม่มีประสิทธิภาพ
ปฏิบัติการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ประเมินระดับความวิตกกังวลด้วยการรวบรวมข้อมูลจากแบบประเมินแบบสอบถามหรือประมวลจากการสังเกตพฤติกรรมที่แสดงออก
ให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจและการทำจิตบำบัดแบบปรับความคิดและพฤติกรรม
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบลดสิ่งกระตุ้นโดยสถานการณ์ที่ทำให้เกิดความวิตกกังวล
ประเมินความคิดที่จะมาทำลายตัวเองโดยใส่ใจคำพูดแต่การกระทำที่แสดงความรู้สึกเหมือนทางและหมดหวัง เฝ้าระวังการทำร้ายตัวเอง
สนับสนุนให้กำลังใจให้คำปรึกษาและชื่นชมผู้ป่วยที่แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม
พูดคุยกับผู้ป่วยเพิ่มความตระหนักรู้ถึงความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกไม่สบายใจและอารมณ์ทางกายหรือพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษาและประเมินประสิทธิภาพและผลข้างเคียงของยาพร้อมทั้งแจ้งผู้ป่วยและญาติทราบเพื่อติดตามและเฝ้าระวังอาการต่างๆ
Obsessive-Compulsive Disorder (OCD)
ลักษณะอาการทางคลินิก
1 อาการย้ำคิด
คือมีความคิดความรู้สึกหรือแรงกระตุ้นให้ทำบางอย่างซ้ำๆไร้เหตุผลคิดหมกมุ่นไม่มีประโยชน์ทำให้เกิดความกังวลใจไม่สบายใจเช่นคิดซ้ำๆว่าจะทำร้ายคนที่ตนรักคิดซ้ำๆว่าจะได้สิ่งศักดิ์สิทธิ์คิดสั้นๆว่าลืมล็อคประตู
2 อาการย้ําทํา
คือทำอย่างมีเป้าหมายชัดเจนซ้ำๆเพื่อป้องกันหรือลดความไม่สบายใจจากการยำคิดเป็นการกระทำที่ไร้เหตุผลนี้ทำไปเพราะกลัวอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตนเองหรือว่าตนเองจะเป็นอันตรายเช่นการล้างมือสำหรับทำให้แน่ใจว่าสะอาด
สาเหตุ
ปัจจัยด้านชีวภาพ
พันธุกรรม
สามารถพบผู้ป่วยโรคย้ำคิดย้ำทำในฝาแฝดร้อยละ 3 แต่ยังไม่สามารถระบุตำแหน่งที่ดินปกติได้ชัดเจน
ซีโรโทนินมีความผิดปกติ
การทำงานผิดปกติของสมองใหญ่ส่วนหน้าซึ่งควบคุมการเคลื่อนไหวโดยตั้งใจการคิดและแก้ปัญหาการวางแผนการทำงานของสมองส่วนbasal ganglia เพิ่มมากปกติ
ด้านจิตใจ
แนวคิดทฤษฎีจิตวิเคราะห์เชื่อว่าอาการย้ำคิดย้ำทำเกิดจากผู้ป่วยใช้กลไกป้องกันตนเองทางจิตใจเพื่อจัดการความรู้สึกขัดแย้งในระดับจิตใต้สำนึก
กลไกป้องกันทางจิต
Isolation
คือความคิดและอารมณ์หรือความรู้สึกแยกจากกันหรือไม่ไปในทางทิศเดียวกันเช่นเขาคิดซ้ำๆว่าจะฆ่าลูกแต่เขาไม่มีคนสึกโกรธหรือเกลียดลูกเขาเลย หรือเขาไปตรวจดูประตูหลายๆครั้งทั้งๆที่ตัวเองรู้สึกว่าประตูปิดเรียบร้อยแล้วมักพบในโรคประสาทแบบย้ำคิดย้ำทำ
การถ่ายทอด undoing เป็นคนไกลที่บุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อลบการกระทำเดิมของตนเป็นการกระทำที่อื่นไม่ยอมรับหรือการล้างบาปหรือเป็นการกระทำที่ตรงข้ามกับแรงขับเคลื่อนที่ไม่ดีเพื่อลบสิ่งเหล่านั้น
Reaction formation คือกลไกจิตใจแรงกระตุ้นที่ไม่เป็นอันพึงปรารถนาทุกอย่างไว้ในจิตไร้สำนึกและแสดงออกมาตรงข้ามเช่นคนก้าวร้าวอาจแสดงออกในลักษณะเป็นคนสุภาพมากผิดปกติ
กลไกป้องกันตนเอง
ไม่ใช่ความผิดปกติเป็นการปรับตัวของ ego เพื่อให้จิตใจกลับสู่ภาวะสมดุล
1 กลไกการป้องกันตัวเองที่มีวุฒิภาวะกลไกนี้นำไปสู่การปรับตัวในมีสุขภาพจิตดีกลไกนี้มีส่วนเปลี่ยนแปลงหรือบิดเบือนความรู้สึกบ้าง
ก.การเกิดทตเทิด คือเปลี่ยนความรู้สึกแรงผลักดันให้เป็นแบบสังคมยอมรับเช่นในดำชอบความรุนแรงก้าวร้าวเลยไปเรียนชกมวยหรือกระเทยมีความสุขในด้านที่โดดเด่นเพราะรู้สึกว่าไม่ค่อยได้รับการยอมรับจากสังคม
ข.การกดระงับคือการจัดการกับความขัดแย้งโดยใช้วิธีการเก็บปัญหาไว้ก่อนฝากไว้ในระดับที่สำคัญเช่นกังวลใจหลังสอบเพราะรู้สึกไม่ดีแต่บอกตัวเองว่ากังวลไปก็ทำอะไรไม่ได้รอผลสอบออกมาค่อยว่ากันอีกที
ค.อารมณ์ขันคือการใช้อารมณ์ขันเพื่อแสดงความรู้สึกความคิดออกมาโดยไม่รู้สึกอึดอัดและเป็นผลดีต่อผู้อื่น
2 กลไกการป้องกันตัวแบบโรคประสาท
เป็นกลไกที่ปรับตัวไม่ดีเท่ากับกลุ่มแรกและมักทำให้เกิดความไม่สบายใจบางอย่างโรคประสาทมีอยู่ 14 ชนิด ตัวอย่าง 3
ก.การเก็บกดคือเก็บความคิดความรู้สึกหรือต้องการที่จะทำเองรับไม่ได้ไว้ในระดับจิตไร้สำนึกผลของการเก็บกดคือลืมเช่นผู้ป่วยไม่ทราบว่าตนถูกข่มขืนตอนอยู่ชั้นประถมจนกระทั่งได้อ่านไดอารี่ของแม่
ข.การเคลื่อนย้ายคือการเปลี่ยนเป้าหมายที่ตนเองรู้สึกไปยังที่อื่นมีผลเสียมากกว่าเช่นถูกหัวหน้าตำหนิรู้สึกว่าจะทำอะไรไม่ได้กลับมาชวนเที่ยวกับคนที่บ้าน
ค.การใช้เชาว์ปัญญาคือมีความรู้สึกกลับมาใช้ความคิดเพื่อหลีกเลี่ยงการเผชิญสิ่งที่ไม่สบายใจเช่นศูนย์หน้าทีมฟุตบอลที่เพชรหลีกเลี่ยงความรู้สึกตนเองที่แย่โดยหันมาสนใจรายละเอียดเรื่องการวางแผนและขั้นตอนที่บกพร่อง
3 กลไกป้องกันตนเองแบบไม่บรรลุภาวะเป็นคนไปสู่ความไม่สบายใจรุนแรงมักเกิดผลเสียต่อผู้อื่นประมาณ 15 ชนิดตัวอย่าง 3 ชนิดคือ
ก.การปฏิเสธคือหลีกเลี่ยงการรับรู้ความจริงที่ทนไม่ได้โดยปฏิเสธการรับรู้เช่นแพทย์แจ้งว่าเป็นมะเร็งผู้ป่วยไม่เชื่อเลยไม่สนใจสิ่งที่แพทย์แนะนำ
ข.การโทษผู้อื่นคือการยอมความรู้สึกที่ที่ตนเองรับไม่ได้เป็นของผู้อื่นเช่นไม่ชอบพนักงานแต่เกิดความรู้สึกว่าหัวหน้างานกลั่นแกล้งไม่ไว้ใจตน
ค.การหาเหตุผลเข้าข้างตนคือการหาสิ่งที่เป็นเหตุผลมาอธิบายความคิดการกระทำที่ติดใจยอมรับไม่ได้บางครั้งรักษาชื่อเสียงของตนไว้ไม่ให้เสียหน้าหรืออัพไลน์เช่นผู้หญิงที่ยอมไม่แต่งงานบอกเพื่อนว่าอยู่คนเดียวสบายใจกว่า
4กลไกการป้องกันตัวเองแบบโรคจิต เป็นกลไกต่ำสุดเมื่อใช้แล้วมาทำให้เกิดการปฏิเสธและบิดเบือนความจริงมี 3 แบบคือการลงโทษผู้อื่นแบบหลงผิด การปฏิเสธแบบโรคจิตและการบิดเบือนแบบโรคจิต
ตัวอย่างคือ
ก.การโทษผู้อื่นแบบหลงผิดคือใช้กลไกผู้อื่นอย่างรุนแรงเกิดความสูญเสียและมีอาการลมพิษเช่นผู้ป่วยคิดว่าตัวเองเป็นบุคคลยิ่งใหญ่จนมีคนลอบสังหารและติดตามตัวเขาเนื่องจากมีผู้กระจายเขาอยู่ในปาก
การบำบัดรักษาพยาบาล
1บำบัดร่างกายนิยมใช้รักษาโรคย้ำคิดย้ำทำได้แก่ยาต้านอารมณ์เศร้ากลุ่ม s s r i s และกลุ่ม tcas
ตัวอย่างกลุ่มยา Tricylics Antidepressants ดังนี้
-ยาอะมิทริปไทลีนยาอะมิทิปไทลีนคือยารักษาโรคซึมเศร้ารวมถึงอาการปวดปลายประสาทหลังจากเป็นงูสวัดและช่วยป้องกันการปวดไมเกรน
-ยาอิมิพรามีนคือยารักษาโรคซึมเศร้าในผู้ใหญ่และอาการปัสสาวะรดที่นอนในเด็กที่มีอายุ 6 ปีขึ้นไป
-ยานอร์ทริปไทลีน คือยารักษาโรคซึมเศร้าบางครั้งไปรักษาในโรคแพนิคอาการปวดเส้นประสาทงูสวัดหรือช่วยให้หยุดสูบบุหรี่
-ยาด็อกเชปิน คือยารักษาโรคซึมเศร้าและอาการวิตกกังวล
2การบำบัดจิตใจคือผู้ป่วยโรคย้ำคิดย้ำทำมีปัญหาด้านความคิดและพฤติกรรมอย่างชัดเจน
พฤติกรรมบำบัด
จิตบำบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม
การบำบัดทางความคิด
3 การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
สร้างบรรยากาศที่อบอุ่นสงบลดสิ่งกระตุ้น
ผู้บำบัดคนมีลักษณะจริงใจ
จัดกิจกรรมที่น่าสนใจและกระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรม
การพยาบาล
1 การประเมินผู้ป่วย
ด้านร่างกาย ผู้ป่วยอาจมีผิวหนังแห้งนอนไม่หลับได้รับอาหารไม่เพียงพอ
ด้านอารมณ์ มีความรู้สึกกังวลเครียดอาจมีเศร้า
ด้านความคิดมีอาการย้ำคิด
2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การทำหน้าที่ตามบทบาทไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากมีพฤติกรรมย้ำทำ
3 ปฏิบัติการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
ประเมินระดับความวิตกกังวลด้วยการรวบรวมข้อมูล
บำบัดช่วงแรกให้ผู้ป่วยแสดงพฤติกรรมอย่างที่ป่วยต้องการไม่ควรห้ามปราม
ให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจ
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้ป่วยต้องทำซ้ำๆ
กระตุ้นผู้ป่วยให้ร่วมกิจกรรมอื่น
ให้กำลังใจและเสริมแรงทางบวกเมื่อไหร่ทำได้สำเร็จ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ภายหลังได้รับยาควรวัดชีพจรอย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
Post-Traumatic-stress Disorder (PTSD)
ลักษณะทางคลินิก
วัดความรุนแรงรู้สึกสิ้นหวังการนอนแปรปรวนตกใจง่ายหงุดหงิดง่ายกระสับกระส่ายคิดถึงเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนใจบ่อยๆฝันร้ายบ่อยๆกลัวความสนใจในสิ่งต่างๆลดลงมีความรู้สึกว่าเหตุการณ์นั้นได้เกิดขึ้นกับตนอีกภาพเหตุการณ์มาปรากฏให้เห็น อีก บางรายมีอาการประสาทหลอนบางรายมีอารมณ์เศร้าเกิดร่วมด้วยอาการดังกล่าวเกิดต่อเนื่องนานกว่า 4 สัปดาห์
สาเหตุ
ปัจจัยด้านชีวภาพ
การทำงานที่ผิดปกติของยีนควบคุมทำงานตัวรับของ dopamine และตัวขนส่งของสารซีโรโทนิน
การเผชิญความเครียดจากเหตุการณ์ๆ
ปัจจัยด้านจิตใจ
แนวคิดจิตวิเคราะห์เชื่อว่าเหตุการณ์รุนแรงเกิดขึ้นเป็นต้นความขัดแย้งจิตไร้สำนึกที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขทำให้ผู้ป่วยเกิดปฏิกรรมถดถอยหรือใช้กลไกป้องกันตนเองทางจิตไม่เหมาะสมเพื่อลดความไม่สบายใจต่างๆ
แนวคิดที่เชื่อว่าความเครียดความวิตกกังวลเกิดจากความไม่สามารถปรับตัวต่อเหตุการณ์ร้ายแรงนั้นได้มักใช้วิธีหลีกเลี่ยงหรือเพิกเฉยกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ปัจจัยอื่นเช่นสิ่งแวดล้อมและสังคมโดยเฉพาะเหตุการณ์เกิดขึ้นกับคนหมู่มากหรือชุมชนสร้างความเสียหายชีวิตและทรัพย์สินทำให้ขาดกำลังใจหดหู่เสียขวัญเกิดเหตุการณ์นั้นๆได้ง่ายและเรื้อรัง
การบำบัดรักษาพยาบาล
ด้านร่างกายนิยมใช้ยาในการรักษาได้แก่
ยาต้านอารมณ์เศร้ากลุ่ม s s r i sและ t c a s
ยาคลายกังวลและยานอนหลับ
ยาpropranolol
ด้านจิตใจคือทำจิตบำบัด
จิตบำบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม
การจัดการกับภาวะวิตกกังวลเช่นผ่อนคลายกล้ามเนื้อเชิงบวกความคิด
การให้การศึกษาด้านจิตใจเพื่อส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองรู้สึกมั่นใจมีกำลังใจในการเผชิญปัญหา
การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับการวิตกกังวลภายหลังการเกิดเผชิญเหตุการณ์สะเทือนใจวิธีการบำบัดให้ความช่วยเหลือ
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
สร้างบรรยากาศที่อบอุ่น
ผู้บำบัดมีลักษณะจริงใจ
การพยาบาล
การประเมินผู้ป่วย
กำลังกายได้แก่การวัดกลัวหรือฝันร้ายกันนอนแปรปรวน
อารมณ์รู้สึกผิดตกใจกลัวจะมีอารมณ์เศร้า
ด้านความคิดผู้ป่วยอันนี้ความคิดฆ่าตัวตาย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากการใช้วิธีการเผชิญความเครียดไม่มีประสิทธิภาพ
ปฏิบัติการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
ประเมินระดับความวิตกกังวลด้วยการรวบรวมข้อมูล
ผู้ป่วยได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงฆ่าตัวตายของเคลียร์ปัญหาการใช้สารเสพติด
ให้การดูแลอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะระยะแรก
ให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจและการทำตัวบัตรแบบปรับความคิดและพฤติกรรม
ให้ปรึกษาด้านจิตใจ
สนับสนุนให้กำลังใจและให้การปรึกษาจิ้มชาบูป่วยมาแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนพร้อมประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ภายหลังการรับยาควรวัดสัญญาณชีพอย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
จัดสิ่งแวดล้อมลดสิ่งกระตุ้นให้เกิดความวิตกกังวล
โรคโซมาโตฟอร์ม
เป็นกลุ่มอาการจิตเวชที่แสดงอาการเป็นความรู้สึกผิดปกติทางร่างกายต้องการหลักผู้ป่วยมาพบแพทย์เช่นอาการปวดตามร่างกายร่างกายหรืออวัยวะทำงานไม่ปกติมีความยุติธรรมพยาธิสภาพของร่างกายจริงๆทั้งนี้จะต้องไม่เป็นการเสแสร้งหรือตรงใจ
ลักษณะอาการทางคลินิก
Somatic symptom disorder
ผู้ป่วยรู้สึกว่าร่างกายมีความผิดปกติหลายอย่างและแบบที่พบบ่อยคือการปวดไม่ได้บ่งบอกถึงโรคทางกายที่และแรงทำให้ต้องมาหาแพทย์ประจำโดยแพทย์ก็ตรวจไม่พบความผิดปกติของร่างกายอาการมักเป็นมากขึ้นเมื่อมีความเครียดหรือปัญหาในชีวิต
Conversion disorder
เป็นกลุ่มโรคทางจิตเวชที่มีความปกติของร่างกายคืออวัยวะใดมีหน้าที่การเคลื่อนไหวหรือคอมพิวเตอร์ประสาทสัมผัส
ลักษณะทางคลินิก
อาการด้านการเคลื่อนไหว
เคลื่อนไหวผิดปกติเช่นยกตัวเป็นมาพูดไม่ได้ทั้งที่เคยพูดเป็นอัมพาตแขนขาอ่อนแรงแต่น่าสังเกตคือไม่รู้หรือถ้าล้มก็ไม่บาดเจ็บมาก
อาการด้านประสาทสัมผัส
แสดงออกด้วยอาการชาหรือความรู้สึกเปลี่ยนไปพบที่มือเท้ามีลักษณะคล้ายส่งถุงเท้าถุงมือ
อาการชัก
เรียกว่าชักเทียมหรือผู้ป่วยมีอาการชักเกร็งดิ้นไปมามักรู้สึกตัวดีระหว่างชาไม่พบอาการบาดเจ็บจากการชักเช่นกันกัดลิ้น ปัสสาวะราด
อาการผิดปกติของการรับสัมผัสพิเศษ
ผู้ป่วยมีอาการหูไม่ได้ยินตามองไม่เห็นหรือมองเห็นเฉพาะหน้าตรงๆพูดไม่มีเสียงการโทรไม่มีความผิดปกติของอวัยวะต่างๆเตรียมพบอาการสาเหตุการกระตุ้นทางจิตใจและการขัดแย้งจิตใจ
อาการร่วมการเคลื่อนไหวและการรับความรู้สึก
อาการชาร่วมกับการยกแขนยกขาไม่ขึ้นสิ่งที่น่าสังเกตคืออาการเกิดขึ้นภายหลังภาวะการเครียดหรือมีความขัดแย้งเมื่อเกิดอาการแล้วผู้มีปัญหาได้รับการตอบสนองหรือผลประโยชน์ 2 ส่วนคือ
primary gain ช่วยปกป้องผู้ป่วยไม่ให้รับรู้ความยุ่งยากความทุกข์ใจกังวลใจหรือขัดแย้งต่างๆ
secondary gain ช่วยให้ได้รับแรงเสริมได้รับประโยชน์จากคนรอบข้างเช่นได้รับการช่วยเหลือจากผู้อื่นได้รับความสนใจและเห็นใจมากขึ้น
ลักษณะอาการทางคลินิก
Illness Anxiety disorder
ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่นตนเองร้ายแรงเพราะว่ามีความเข้าใจไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอาการป่วยทางกายมาพบแพทย์หลายแห่งได้รับการต้อนรับอย่างได้รับการยืนยันจากแพทย์ว่าไม่พบโรคความผิดปกติใดๆป่วยไม่เชื่อและความต้องการซึมเศร้าและวิตกกังวล
ลักษณะทางคลินิก
Body Dymorphic disorder
ป่วยมักม่วนความคิดที่ว่าส่วนของร่างกายตนเองน่าเกลียดไม่สมส่วนว่าความจริงหรือรูปร่างสมส่วนที่อยู่แล้วออกมาจากอวัยวะนั้นอยู่บ่อยๆซึ่งเป็นบริเวณใบหน้าเช่นปากจมูกคางแก้มหู
การพยาบาลผู้ที่มีความวิตกกังวลโรคโซมาโตฟอร์ม
การประเมินผู้ป่วย
ด้านร่างกาย ผู้ป่วยมักให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของตนเองที่ไม่พบความผิดปกติและมากที่ให้ข้อมูลเกินเลย
วินิจฉัยทางการพยาบาล
กลไกการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสมเนื่องจากบุคลิกพึ่งพาและพัฒนาการไม่สมวัย
ปฏิบัติการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยปรับตัวที่เหมาะสม
รับฟังปัญหาให้ความรู้เรื่องวิตกกังวลสอนทักษะควบคุมและลดความวิตกกังวล
ไม่ส่งเสริมบทบาทความเจ็บป่วยพยายามให้ค**ช่วยเหลือตนเอง ฝึกให้ผู้ป่วยรู้จักผ่อนคลายกล้ามเนื้อควบคุมการหายใจเพื่อควบคุมและลดความวิตกกังวล
นางสาว เสาวนีย์ นาโสก
รหัสนักศึกษา 624N46222
ห้อง 624N-46/2