Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอิสลาม - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอิสลาม
แนวคิดการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องธรรมชาติที่จะต้องดำเนินไปตามกฎสภาวการณ์ของอัลลอฮฺ โดยการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ เวลา สถานที่ ความคิด ความร่วมมือ การส่งเสริมและสนับสนุน การเปลี่ยนแปลง การประดิษฐ์ การคิดค้น และการพัฒนา โดยองค์ประกอบดังกล่าวดำเนินไปตามกำหนดการณ์ของเอกองค์อัลลอฮฺ
นิสเบท (Nisbet, 1969 : 166-168)
การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องของกฎธรรมชาติ นักการศาสนามักจะอธิบายการเปลี่ยนแปลงของชีวิตของมนุษย์ว่า คนเรามีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย
การเปลี่ยนแปลงเป็นอยู่ตลอดเวลา
การเปลี่ยนแปลงเป็นการต่อเนื่อง
การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งจำเป็น
การเปลี่ยนแปลงเป็นแบบเดียวกัน
ความหมายของการเปลี่ยนแปลง
เป็นภาวะหรือปรากฏการณ์ที่ไม่หยุดนิ่งและเกิดขึ้นตลอดเวลาทั้งกับสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งการเปลี่ยนแปลงโดยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากการกระทำของมนุษย์เอง ทั้งการเปลี่ยนแปลงไปสู่ทิศทางที่ดีขึ้นหรือเลวลงกว่าเดิม ส่วนความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change) (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, 2532 : 113)
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมหมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับบทบาท สถาบันหรือระเบียบต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นโครงสร้างสังคม
สเมลเซอร์ (Smelser, 1988 : 383 อ้างถึงใน สุพิศวง ธรรมพันธา, 2543 : 67) กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงทางสังคม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับประชากร พฤติกรรมของสมาชิกในสังคม โครงสร้างสังคมและแบบแผนของความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกและแบบแผนทางวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง เป็นการเปลี่ยนแปลงในระบบโครงสร้างและหน้าที่ของระบบความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างมนุษย์หรือกลุ่มคนในสังคม ตลอดจนเป็นการเปลี่ยนแปลงการกระทำระหว่างกันทางสังคม ในการติดต่อการกระทาระหว่างมนุษย์หรือกลุ่มของสังคม
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางชีววิทยา (Biological)
ปัจจัยทางประชากร (Population)
ปัจจัยทางกายภาพ (Physical)
ปัจจัยทางวัฒนธรรม (Cultural)
ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี
ปัจจัยด้านขบวนการสังคม (Social Movement)
ปัจจัยทางจิตวิทยา (Psychological)
ปัจจัยอื่น ๆ (Other)
ปัญหาทางสังคม
ปัญหาในสถาบันเศรษฐกิจ
ปัญหาในสถาบันการเมือง
ปัญหาสถาบันครอบครัว
ปัญหาสถาบันด้านสื่อมวลชน
ปัญหาอื่น ๆ