Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การประกันคุณภาพการศึกษา - Coggle Diagram
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
การประกันคุณภาพการศึกษา
กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
“การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา
ประกอบด้วย
การประเมินและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ ตามมาตรฐาน
กลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่น
ข้อ 1 ให้ยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553
การกำหนดมาตรฐานที่ไม่ตรงกัน
ต้องทำงานเอกสารมาก เป็นภาระ
ข้อ 2
“การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายถึง การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ
“สำนักงาน” หมายถึง สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
ข้อ 3
สถานศึกษา
:pencil2: กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
:pencil2: จัดทำแผนพัฒนา :pencil2: ดำเนินงานตามแผน :pencil2: ประเมินผลและตรวจสอบ :pencil2: ติดตามผล :pencil2: ส่งรายงานการประเมิน
หน่วยงานต้นสังกัด
:pencil2:ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ แนะนำ
:pencil2:รวบรวมและสังเคราะห์ SAR
:pencil2:ติดตามการดำเนินงานปรับปรุง
:pencil2:ให้ความร่วมมือกับ สมศ.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องให้ใช้มาตรฐานการศึกษา พ.ศ. 2561
นโยบายการปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา
ปรับจำนวนมาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่สะท้อนคุณภาพ
ลดภาระการประเมินที่ยุ่งยากกับสถานศึกษา
ลดการจัดทำเอกสารเพื่อการประเมิน
ปรับปรุงกระบวนการประเมินที่สร้างภาระแก่สถานศึกษา
ปรับมาตรฐานผู้ประเมินให้ได้มาตรฐาน
มาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
ร่างกาย
อารมณ์
สังคม
สติปัญญา
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ
หลักสูตร จัดครูเพียงพอ ส่งเสริมปสก.ครู
จัดสภาพแวดล้อม สื่อเทคโน สารสนเทศ
ระบบบริหาร
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
จัดปสก. สร้างโอกาส
จัดบรรยากาศ ประเมินตามสภาพจริง
มาตรฐานการศึกษา
ระดับขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
เป้าหมาย วิสัยทัศน์
ระบบการบริหาร
พัฒนาวิชาการ
พัฒนาครูและบุคลากร
จัดสภาพแวดล้อม
ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ
มาตรฐานที่ 3
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ
มาตรฐานการศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนย์การศึกษาพิเศษ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลการพัฒนาผู้เรียน
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
เป้าหมาย วิสัยทัศน์
ระบบการบริหาร
พัฒนาวิชาการ
พัฒนาครูและบุคลากร
จัดสภาพแวดล้อม
ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561
“ มาตรฐานการศึกษาของชาติ” หมายถึง
ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงค์ของคนไทย มีจุดหมายร่วม คือ “ธำรงความเป็นไทยและแข่งขันได้ในเวทีโลก”
กระบวนการจัดทำ
(1) การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
(2) การประชุมรับฟังความคิดเห็นทุกภาคส่วน
(3) การสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของคนไทยในอนาคต
(4) การเสนอร่าง ทบทวน และเสนอมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. ....
(5) การประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อร่าง มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. ....
(6) การยกร่างมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. ....
(7) การติดตามผลการดําเนินงานและประเมินผลมาตรฐานการศึกษาของชาติ