Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Suction การดูดเสมหะ - Coggle Diagram
Suction การดูดเสมหะ
อุปกรณ์
3.ถุงมือที่ปราศจากเชื้อ 1 ข้าง 2 ชิ้น(โดยทั่วไปจะใช้ข้างขวา แต่ในกรณีที่ถนัดซ้ายให้ใช้ถุงมือข้างซ้าย ) และถุงมือสะอาดสำหรับผู้ช่วยเหลือ 1 คู่
4.กระปุก Forcep พร้อม Forcep และอับสำลีแอลกอฮอล์ 70 %
5.0.9% NSS หรือ Sterile water 1000 cc. 1 ขวดสำหรับล้างสาย suction
6.syinge 10 cc พร้อม 0.9 % NSS สำหรับทำให้เสมหะอ่อนตัว
7.หัวต่อออกซิเจน สายออกซิเจนและ Ambu bag 1 ชุด
8.ถัง 2 ใบ ใบที่1 ใส่น้ำยาฆ่าเชื้อตามที่ใช้ในโรงพยาบาลนั้นๆ ได้แก่ cidex , virkon , sodium hypochloride สำหรับแช่สายดูดเสมหะ ถังอีก 1 ใบสำหรับใส่ถุงมือที่ใช้แล้ว
9.ชามรูปไต 1 ใบ
1.เครื่องดูดเสมหะ มีทั้งชนิดติดผนัง(suction wall) และชนิดเคลื่อนที่ได้(mobile or portable suction)
2.สาย suction ปราศจากเชื้อ ขนาดตามความเหมาะสม ควรเลือกขนาดเส้นรอบวงเป็น 1/3 ของท่อทางเดินหายใจเทียม ซึ่งปกติเด็กจะใช้เบอร์ 5-12 ผู้ใหญ่ใช้เบอร์ 14-18
ขั้นตอนการดูดเสมหะ(ต่อ)
-
10.ผู้ช่วยเหลือปลดข้อต่อของเครื่องช่วยหายใจ ออกจากท่อทางเดินหายใจเทียม จากนั้นใช้สำลีแอลกอฮอล์เช็ดรอบๆ ปลายท่อทางเดินหายใจ
8.ผู้ดูดเสมหะสวมถุงมือ sterile ข้างที่ถนัด ให้ผู้ช่วยเหลือเปิดซองสาย suction ผู้ดูดเสมหะหยิบสาย suction ออกมาระวังไม่ให้ contamination จากนั้นต่อเข้ากับสายยางของเครื่อง suction
11.ผู้ดูดเสมหะบีบหรือหักสาย suction ส่วนที่อยู่ใกล้กับข้อต่อ จากนั้นใส่สาย suction เข้าไปในท่อทางเดินหายใจเทียมด้วยความนุ่มนวล โดยใส่สายดูดเสมหะลึกประมาณ 6-8นิ้ว สำหรับ endotracheal tube และถ้าเป็นtracheostomy tube ต้องใส่ลึกประมาณ 4-5 นิ้ว เพราะถ้าลึกกว่าที่กำหนดปลายสายยางอาจแยงเข้าไปในหลอดลมปอดข้างใดข้างหนึ่ง
12.ปล่อยมือที่หักสายหรือปิดรูที่อยู่ข้างข้อต่อสาย suction เพื่อให้เครื่องดูดเสมหะเอาเสมหะออกมาและในขณะที่เลื่อนสายออกมาให้หมุนสาย และถอนสายออกมาเรื่อยๆ ระยะเวลาในการดูดเสมหะแต่ละครั้งประมาณ 10-15 วินาที เป็นเวลาตั้งแต่เริ่มต้นใส่สายจนกระทั่งถอนสายยางออกมา
13.หลังจากดูดเสมหะแต่ละครั้ง ให้ผู้ช่วยเหลือบีบ ambu bag 4-5 ครั้ง ก่อนบีบใช่สำลีแอลกอฮอล์เช็ดข้อต่อของ ambu bag
14.หลังจากกทางเดินหายใจโล่งแล้ว ให้ล้างสายดูดเสมหะใน NSS หรือ sterile water ที่เตรียมไว้และปลดสาย suction แช่ลงในถังน้ำยา
15.ผู้ช่วยเหลือใช้สำลีแอลกอฮอล์เช็ดปลายท่อทางเดินหายใจเทียม และเครื่องช่วยหายใจก่อนที่จะต่อเครื่องช่วยหายใจกับท่อทางเดินหายใจ และเช็ดที่ข้อต่อของ ambu bag ก่อนที่จะเก็บอีกครั้ง
-
ขั้นตอนในการดูดเสมหะ
ในการดูดเสมหะต้องทำด้วยเทคนิคสะอาดปราศจากเชื้อ ดังนั้นในการดูดแต่ละครั้งต้องมีผู้ช่วยเหลือในการปลดข้อต่อท่อช่วยหายใจจากเครื่องช่วยหายใจ เช็ดด้วยสำลีแอลลกอฮอล์ และช่วย hyperventilation หลังดูดเสมหะแต่ละครั้ง ซึ่งขั้นตอนการดูดเสมหะมีดังนี้
-
-
-
4.จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายรอบ (ในกรณีผู้ป่วยที่หายใจหอบหรือนอนราบไม่ได้ให้จัดท่าศีรษะสูงเล็กน้อย ส่วนการนอนตะแคงทำให้ดูดเสมหะลำบากจึงเป็นท่าที่ไม่เหมาะสม)
-
6.ผู้ดูดเสมหะเปิดเครื่องดูดเสมหะ (suction) และปรับความดันให้เหมาะสมกับผู้ป่วย คือ ผู้ใหญ่ 100-120 mmHg เด็ก 80-100 mmHg และทารก 60-80 mmHg
7.สวมถุงมือ sterile ดูดเสมหะในปากก่อนดูดในทางเดินหายใจเทียม ถอดถุงมือและสาย suction ทิ้งลงในถัง (ต่อ)
วัตถุประสงค์
-
-
3.เก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อการวินิจฉัย เช่น sputum gram stain , sputum cuture
การดูดเสมหะ
เช่น endotracheal tube , tracheostomy tube
เป็นการใช้สายยางที่ต่อเข้ากับเครื่องดูดเสมหะสอดผ่านท่อหลอดลมสอดผ่านท่อทางเดินหายใจเทียม ด้วยวิธีปราศจากเชื้อ เพิ่อดูดเอาเสมหะหรือดูดสารคัดหลั่งในท่อทางเดินหายใจ