Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 การพยาบาลด้วยความเอื้ออาทรในผู้ป่วยที่มีความวิตกกังวลและความเครียดผ…
บทที่3 การพยาบาลด้วยความเอื้ออาทรในผู้ป่วยที่มีความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติ
สารเคมีที่สำคัญ
acetylcholine
่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ การควบคุมพฤติกรรม
ความจำ สมาธิ และการเรียนรู้
ถ้าต่ำ จะทำให้มีสมาธิสั้น ความจำไม่ดี โดยเฉพาะความจำระยะสั้น
dopamine
เป็นสารแห่งความสุข ซึ่งจะปล่อยออกมาเมื่อเรารู้สึกพึงพอใจ เช่น ได้ทานอาหารที่ชอบ โดพามีนจะช่วยให้เรากิจกรรมนั้นๆ ได้ไม่รู้เบื่อ
ถ้าต่ำจะทำกล้ามเนื้อเกร็งกระตุก และมีอาการสั่น เช่น ในโรคพาร์กินสัน
ถ้าสูง จะทำให้เกิดโรคทางจิตเภท มีความคิดฟุ้งซ่าน ควบคุมสติไม่ได้ คลุ้มคลั่ง เหมือนการเสพยาบ้า
Serotonin
เป็นสารที่ควบคุมสภาพอารมณ์ ความรู้สึกเจ็บปวด ความหิวและ
พฤติกรรมอื่นๆ
ถ้าต่ำ จะก้าวร้าว ซึมเศร้า ย้ำคิดย้ำทำ
Norepinephrine
จะหลั่งออกมาเมื่อเกิดความกลัวและเครียด
ถ้าสูงจะทำให้มีความเครียด
เป็นสารเดียวที่สูงเเล้วผิดปกติ*
ถ้าต่ำ จะทำให้ซึม เชื่องช้า ไม่ตื่นตัว
GABA
่ยับยั้งกระแสประสาท ทำให้สมองที่ได้รับการกระตุ้นเกิดสมดุล
และผ่อนคลายลง
Endorphins
ออกฤทธิ์ค้ายาเสพติด จะหลั่งออกมาเมื่อในขณะออกกำลังกาย รู้สึกตื่นเต้น หรือมีเพศสัมพันธ์
ความวิตกกังวล
เป็นอาการที่เกิดขึ้นเมื่อมีความเครียดเข้ามากระทบ ทําให้ รู้สึกสับสน วิตก อึดอัด ไม่มีความสุข ควบคู่ไปกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายแข็ง เช่น มือสั่น ตัวสั่น อาจจะพิจารณาจากประเด็นดังนี้
1.ความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นมากเกินกว่าจะอธิบายได้ด้วยความเครียดที่มากระตุ้น
2.ความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงมาก
3 ความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นยังคงอยู่ แม้สิ่งกระตุ้นจะหมดไปแล้ว
ความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นทำให้รบกวนกิจวัตรประจำวันและหน้าที่การงานต่าง ๆ
โรควิตกกังวล
1.โรควิตกกังวลผิดปกติ (Anxiety Disorders)
Panic Disorder
อาจจะเรียกว่าโรคตื่นตะหนก มีความกลัวแบบเฉียบพลัน ณ ตอนนี้น จะเกิดขึ้น 10-15 นาที ไม่เกิน 1 ชม.
มีอาการอย่างน้อย4อาการ
จากอาการเหล่านี้
ใจสั่น ใจเต้นแรงคือหัวใจเต้นเร็วมาก
เหงื่อแตก
ตัวสัน
หายใจไม่อิ่มหรือหายใจขัด
รู้สึกอึดอัดหรือแน่นอยู่ข้างใน
เจ็บหน้าอก กลืนแน่นหน้าอก
คลื่นไส้ ท้องไส้ปั่นป่วน
มีนงง วิงเวียน ปวดศีรษะหรือเป็นลม
มีความรู้สึกร้อนๆหนาวๆ
รู้สึกชาหรือเสียวซ่าตามผิวหนัง
รู้สึกว่าสิ่งแวดล้อมแปลกไปหรือไม่คุ้นเคย คือรู้สึกว่าตนเองแปลกไป เปลี่ยนแปลงไป
กลัวควบคุมตัวเองไม่ได้ หรือกลัวเป็นบ้า
กลัวว่าตนเองกําลังจะตาย
สายเหตุ
ด้ายชีวภาพ
พันธุ์กรรม
กายวิภาคของสมอง
ความสมดุลของสารสื่อประสาท
ด้านจิตใจ
เช่น ตอนเด็กถูกข่มขืนที่ต้นไม้ใหญ่ พอเวลาผ่านไป หรือ เดินไปเห็นต้นไม้ที่คล้ายกัน ก็ทำให้เกิดอาการ
การรักษา
ด้านร่างกาย
การรักษาด้วยยา
SSRI และ Benzodiazephin คือยาต้านเศร้าเเละยาพวกยานอนหลับ * เมื่อใช้ 2-4 สัปดาห์ เเล้ว อาจจะใช้เเต่ยาต้นเศร้า
ด้านจิตใจ
พฤติกรรมบําบัด (behavioral therapy)
มุ่งเปลี่ยนแปลงหรือลดพฤติกรรมที่ไม่พึง ประสงค์ โดยเป็น
วิธีการรักษาในระยะสั้นและแก้ปัญหาแบบเฉพาะเจาะจง มีการตั้งเป้าหมายชัดเจน
จิตบําบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม
(Cognitive behavioral therapy)
เพื่อช่วยลดอาการของผู้ป่วย ช่วยให้ผู้ป่วยเกิดทักษะในการจําแนก ประเมิน และเปลี่ยนแปลง
กระบวนการนึกคิดที่ไม่เหมาะสม
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจใน ความคิดที่เป็นจุดอ่อนของตนเอง เพื่อนําไปสู่การเปลี่ยนแปลงแก้ไขให้เป็นการคิด ความเชื่อหรือ ทัศนคติที่เหมาะสม
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด (milieu therapy)
การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น
ขณะที่ผู้ป่วยเกิดอาการตื่นตระหนกอาการแพนิค พยาบาลควรอยู่กับผู้ป่วยตลอดเวลา
ผู้บําบัดควรมีลักษณะจริงใจ
เมื่อผู้ป่วยแสดงอาการลดลงหรือควบคุมอาการวิตกกังวลได้ ควรเปิด โอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก พูดถึงสาเหตุหรือสิ่งกระตุ้นให้เกิดอาการตื่นตระหนกนั้น
การพยาบาล
การประเมินผู้ป่วย
ด้านร่างกาย – ผู้ป่วยจะบอกถึงอาการทางกาย เช่น ใจสั่น เจ็บหน้าอก
ด้านอารมณ์ - วิตกกังวล เศร้า เสียใจ ตึงเครียด กลัวว่าตนเองจะตายหรือเป็นบ้า
ด้านความคิด – ผู้ป่วยอาจมีความคิดฆ่าตัวตาย
Phobia Disorder
คือโรคกลัวสิ่งที่ไม่น่ากลัว เป็นการกลัวแบบไร้เหตุผล เช่น ดารากลัวเเตงโม มีลักษณะดังนี้
Agoraphobia
เป็นความกลัวการอยู่คนเดียวในที่สาธารณะ เช่น ตลาด มักมีอาการPanicร่วมด้วย
Social Phobia
เป็นความกลัวต่อการต้องไปอยู่ในสถานการณ์ที่ถูกผู้อื่นจ้องมอง เช่น ได้ออกไปนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
Specific Phobia เ
เป็นการกลัวสัตว์ วัตถุหรือสิ่งของเฉพาะ หรือ กลัวเหตุการณ์
บางอย่างเฉพาะ เช่น กลัวแมงมุม กลัวเลือด
การบําบัดรักษาพยาบาล
1.การบําบัดด้านร่างกาย
โดยให้ยาต้านความเศร้า SSRI และยากลุ่มนอนหลับ Benzodiazephin
การบําบัดด้านจิตใจคือการทําจิตบําบัด
(psychotherapy)
พฤติกรรมบําบัด (behavioral therapy)
ใช้เทคนิคการใช้ตัวแบบ (modeling technique) ซึ่งเป็นเทคนิคการลด ความกลัวหรือความวิตกกังวล
จิตบําบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม
(Cognitive behavioral therapy)
โดย ปรับแก้ความคิดที่บิดเบือนจากความเป็นจริงต่อคน สิ่งของ หรือสถานการณ์ที่กลัว ไม่มีความคิดที่เหมาะสม และนําไปสู่การ
ปรับพฤติกรรมต่อไป ร่วมกับการใช้เทคนิคการเผชิญหน้ากับสิ่งที่กลัว
3.การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด (milieu therapy)
การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่่น
ผู้บําบัดควรมีลักษณะจริงใจ
การพยาบาล
การประเมินผู้ป่วย
ด้านร่างกาย-ถ้าความกลัวรุนแรงมากควรประเมินอาการทางกายจาก panic attack
ด้านอารมณ์-ความกลัวต่อสิ่งต่างๆมีผลต่อการดําเนินชีวิตของผู้ป่วยอย่างไร
ในความคิด - ประเมินการรับรู้สิ่งคุกคามที่ทําให้ผู้ป่วยกลัว และผลกระทบต่อการดําเนินชีวิต
Generalized Anxiety Disorder (GAD)
เป็นภาวะความหวาดวิตกที่มีอยู่อย่างไร้เหตุผลและมากเกินกว่าเหตุ มีอาการทางระบบประสาท อัตโนมัติร่วมด้วย เช่น กระวนกระวายใจ กล้ามเนื้อตึงหรือเจ็บ นอนหลับยาก
โดยมีอาการต่อเนื่อง นานอย่างน้อย 5 เดือน อย่างน้อย3อาการดังนี้
อยู่นิ่งไม่ได้ กระสับกระส่าย (restlessness)
อ่อนเพลียและเหนื่อยง่าย (fatigue)
ไม่มีสมาธิ (impaired Concentration)
หงุดหงิดง่าย irritability)
กล้ามเนื้อตึงเครียด ปวดเมื่อย (muscle tension)
มีปัญหาด้านการนอน (sleep disturbance)
สาเหตุของ GAD
การลดลงของ GABA
การลดลงของระดับ serotonin
การเพิ่มมากเกินไปของ norepinephrine
การบําบัดรักษาพยาบาล
1.ด้านร่างกาย
ด้วยยากลุ่ม benzodiazepine แต่จะใช้ในช่วงสั้นๆเท่านั้นเมื่อ ผู้ป่วยมีอาการ อาการดีขึ้นจึงจะพิจารณาลดยาลง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะพึ่งยา บางรายอาจใช้ยาก ลุ่ม SSRIS ร่วมด้วย
2.การบําบัดด้านจิตใจคือการทําจิตบําบัด (psychotherapy)
:จิตบําบัดแบบจิตพลวัต (psychodynamic psychotherapy)
จิตบําบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม (Cognitive behavioral therapy)
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด (milieu therapy)
การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น
ผู้บําบัดควรมีลักษณะจริงใจ
แสดงการยอมรับในอาการของผู้ป่วย ช่วยให้ผู้ป่วยเกิด ความมั่นใจด้าน
ความปลอดภัยของตนเอง
ส่งเสริมการจัดกิจกรรมและกระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรม
การพยาบาล
การประเมินผู้ป่วย
ด้านร่างกาย - มีอาการ เช่น หายใจไม่เต็มอิ่ม ใจสั่น ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ
ด้านอารมณ์ – มีความวิตกกังวล ทุกข์ใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในชีวิตหลายๆเรื่อง
ด้านความคิด – ผู้ป่วยอาจมีความคิดฆ่าตัวตายเพราะต้องการหนีความทุกข์ใจ
Obsessive-Compulsive Disorder (OCD)
ความวิตกกังวลที่แสดงออกทางการย้ำคิดย้ำทำและพฤติกรรมย้ำทำ มีความคิดอย่างหนึ่งเข้ามาในใจตลอดเวลาโดยควบคุมไม่ได้เช่นกลัวเชื้อโรค จึงล้างมือตลอดเวลาเพราะกลัวว่าจะติดโลก คิดว่าทำบาปไว้ หรือรู้ว่าขี้เกียจแต่ก็อยู่ที่เดิม
อาการโรคย้ำคิดย้ำทํา มีอาการสําคัญอยู่ 2 ประการ
ย้ำคิด
การมีความคิด ความรู้สึกหรือแรงกระตุ้นให้กระทําอะไรบางอย่าง ซ้ำ ๆโดยไร้เหตุผล คิดหมกมุ่นไปมาโดยไม่มีประโยชน์
ย้ำทำ
การกระทําอย่างมีเป้าหมายชัดเจนซ้ำๆ เพื่อป้องกันหรือลด ความไม่สบายใจ
จากการย้ำคิดข้างต้น และเป็นการกระทําที่ไร้เหตุผล
สาเหตุของ
พันธุกรรม
ระดับ serotonin มีความผิดปกติ
การทํางานผิดปกติของสมองใหญ่ส่วนหน้า
การบําบัดรักษาพยาบาล
การบําบัดด้านร่างกาย
ยาต้านอารมณ์เศร้า (antidepressant drugs)
กลุ่ม SSRIS และกลุ่ม
TCAS
การบัดด้านจิตใจ
พฤติกรรมบําบัด
โดยการใช้เทคนิคการควบคุมและการ ตรวจสอบพฤติกรรม
ตนเองร่วมกับใช้เทคนิคการเสริมแรง เพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่เหมาะสม
:จิตบําบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม
เป็น การรักษาอย่างแรกที่ใช้ในการบําบัดผู้ป่วยโรคย้ำคิดย้ำทํา
การบําบัดทางความคิด
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด
การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น
:ผู้บําบัดควรมีลักษณะจริงใจ
จัดกิจกรรมอื่นที่น่าสนใจและกระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรม
เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ จากความคิด
และพฤติกรรมซ้ำ ๆของผู้ป่วย
การพยาบาล
การประเมินผู้ป่วย
ด้านร่างกาย – พบว่าผู้ป่วยอาจมีผิวหนังแห้ง นอนไม่หลับ ได้รับอาหารไม่เพียงพอ
ด้านอารมณ์ - มีความรู้สึกกังวล เครียด อาจจะมีอารมณ์เศร้า
ด้านความคิด – มีอาการย้ำคิด
Post-Traumatic Stress Disorder (PTSD)
:ความวิตกกังวลภายหลังจากประสบภาวะความเครียดรุนแรงหรือภายหลังเหตุการณ์ภัยธรรมชาติหรือมนุษย์สร้าง
มีอาการต่างๆที่เกิดขึ้นนานเกิน 4 สัปดาห์บางทีจะมีแฟลตเกิดขึ้น
สาเหตุ
การทํางานที่ผิดปกติของยีน
การเผชิญความเครียดจากเหตุการณ์นานๆ
การบําบัดรักษาพยาบาล
การบําบัดด้านร่างกาย
ยาต้านอารมณ์เศร้า (antidepressant drugs) กลุ่ม SSRIS และกลุ่ม
TCAS
ยาคลายกังวลและยานอนหลับ กลุ่ม benzodiazepine
ยา propranolol เพื่อบรรเทาอาการทางกาย
ด้านจิตใจ
จิตบําบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม
การจัดการกับภาวะวิตกกังวล
การให้การปรึกษาด้านจิตใจ
การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด
การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น
ผู้บําบัดควรมีลักษณะจริงใจ
การพยาบาล
การประเมินผู้ป่วย
ด้านร่างกาย ได้แก่อาการหวาดกลัว หรือฝันร้าย การนอนแปรปรวน
ด้านอารมณ์ - รู้สึกผิด ตกใจ โกรธ หรือมีอารมณ์เศร้า
ด้านความคิด – ผู้ป่วยอาจมีความคิดฆ่าตัวตาย
2.โรคโซมาโตฟอร์ม (Somatoform Disorders)
Somatic Symptom Disorder
เป็นกลุ่มโรคทางจิตเวชที่ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดเป็นอาการนํามาพบแพทย์
ลักษณะอาการทางคลินิก
ผู้ป่วยรู้สึกว่าร่างกายมีอาการผิดปกติหลายอย่างและหลายแบบ ที่พบบ่อยคืออาการปวด ซึ่ง ไม่ได้บ่งถึงโรคทางกายที่ร้ายแรง ทําให้ต้องมาหาแพทย์เป็นประจํา โดยที่แพทย์ก็ตรวจไม่พบความ ผิดปกติของร่างกาย อาการมักเป็นมากขึ้นเมื่อมีความเครียดหรือปัญหาในชีวิต
Conversion Disorder
เป็นกลุ่มโรคทางจิตเวชที่มีความผิดปกติของร่างกายเกี่ยวกับอวัยวะที่มีหน้าที่ในการ เคลื่อนไหว หรือความผิดปกติในประสาทสัมผัส
ลักษณะอาการทางคลินิก
อาการด้านการเคลื่อนไหว
โยกตัวไปมา พูดไม่ได้ทั้งๆที่ เคยพูดได้
อาการด้านประสาทสัมผัส
แสดงออกโดยมีอาการชา
อาการชัก
เรียกว่าอาการชักเทียม คือผู้ป่วยมีอาการชักเกร็ง ดิ้นไปมา และมักจะรู้สึกตัวดี
อาการผิดปกติของการรับสัมผัสพิเศษ
ผู้ป่วยมีอาการหูไม่ได้ยิน ตามองไม่เห็น หรือมองเห็น เฉพาะหน้า
ตรงๆ พูดไม่มีเสียง การตรวจไม่พบความผิดปกติของอวัยวะดังกล่าว
อาการร่วมการเคลื่อนไหวและการรับความรู้สึก
อาการชาร่วมกับการยกแขนขาไม่ขึ้น
Primary gain ช
ช่วยปกป้องตัวผู้ป่วยให้ไม่ต้องไปรับรู้ความยุ่งยาก ความทุกข์ใจ ความกังวลใจ หรือความขัดแย้งต่างๆ
Secondary
ช่วยให้ได้รับแรงเสริมหรือได้รับประโยชน์จากคนรอบข้าง เช่น ได้รับการ ช่วยเหลือจากผู้อื่น ได้รับความเห็นใจหรือได้รับความสนใจมากขึ้น
Illness Anxiety Disorder
ลักษณะที่สําคัญของโรคนี้คือผู้ป่วยจะครุ่นคิดกลัวว่าตนเป็นโรคทางกายที่ร้ายแรงที่แพทย์ยัง ตรวจไม่พบ จึงเปลี่ยนโรงพยาบาลหรือผู้รักษาบ่อย ทําให้เกิดภาวะอารมณ์เคร่งเครียดและมีผลเสียต่อ การทํางานและการเข้าสังคม
ลักษณะอาการทางคลินิก
ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่นว่าตนเองเป็นโรคร้ายแรง ทั้งนี้เพราะผู้ป่วยมีความเข้าใจไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับอาการเจ็บป่วยทางกาย มักไปพบแพทย์หลายแห่ง ได้รับการตรวจหลายอย่าง และได้รับการ ยืนยันจากแพทย์ว่าไม่พบโรคหรือความผิดปกติใดๆ แต่ผู้ป่วยก็ยังคงเชื่อว่าตนป่วยอยู่ด
Body Dysmorphic Disorder
ซึ่งเป็นกลุ่มโรคที่ผู้ป่วยหมกมุ่นกับ ความคิดว่าตนมีส่วน
ใดส่วนหนึ่งของร่างกายที่น่าเกลียด ไม่สมบูรณ์ ทําให้เกิดความวิตกกังวล อารมณ์ เคร่งเครียดจนทําให้บกพร่องใน
หน้าที่การงานและด้านสังคม
ลักษณะอาการทางคลินิก
ผู้ป่วยจะหมกมุ่นกับความคิดที่ว่า ส่วนของร่างกายตนเองน่าเกลียด ไม่สมส่วน แม้ตามความ เป็นจริงผู้ป่วย
ไม่ได้น่าเกลียด หรือมีรูปร่างสมส่วนดีอยู่แล้ว ผู้ป่วยมักจะคอยสังเกตดูอวัยวะนั้นอยู่ บ่อยๆซึ่งมักเป็นส่วนบริเวณ
ใบหน้า เช่น ปาก จมูก คาง แก้ม ห
การพยาบาลผู้ที่มีความวิตกกังวลกลุ่มโรคโซมาโตฟอร์ม (Somatoform Disorders)
การประเมินผู้ป่วย
ด้านร่างกาย - ผู้ป่วยมักจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของตนเอง ทั้งๆที่ตรวจไม่พบความผิดปกติ และ
มักจะให้ข้อมูลที่เกินเลย