Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้วยความเอื้ออาทรในผู้ที่มีความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติสารเค…
การพยาบาลด้วยความเอื้ออาทรในผู้ที่มีความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติสารเคมีในสมอง
สารเคมีในสมอง
นอร์เอพิเนฟริน (Norepinephrine) กระตุ้นอัตราการเต้นของของหัวใจและเพิ่มความดันโลหิตสูง
ซีโรโทนิน (Serotonin) ควบคุบสภาพอารมณ์ ความรู้สึกเจ็บปวด ความหิว การหายใจ และการนอนหลับ
โดพามีน (Dopamine) เป็นสารแห่งความสุข เช่น ได้ทานอาหารที่ชอบ ได้ออกกำลังกาย มีสมาธิจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
กาบา (GABA) ยับยั้งกระเเสประสาท ทำให้สมองกระตุ้นเกิดสมดุลและผ่อนคลายลง
แอซิติลโคลีน ( Acetycoline) เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ การควบคุมพฤติกรรมความจำ สมาธิ และการเรียนรู้
เอนดอร์ฟิน (Endorphin) ออกฤทธิ์คล้ายสารเสพติด ทำให้รู้สึกผ่อนคลาย หายจากความรู้สึกเจ็บปวด
1.2 Phobia Disorder (โรคกลัว ) โรคที่ผู้ป่วยแสดงอาการหวาดกลัว
ลักาณะอาการทางคลินิก
Agoraphobia เป็นความกลัวการอยู่คนเดียวในที่สาธารณะ กลัวการอยู่ในฝูงชน เช่น ตลาด
Social Phobia ความกลัวต่อการไปอยู่ในสถาการณ์ที่ถูกผู้อื่นจ้องมอง หรือ ตก
Specific Phobia เป็นการกลัวสัตว์ หรือกลัวเหตุการณ์บางชนิด เช่น กลัวแมงมุม กลัวเลือด กลัวเข็มฉีดยา
สาเหตุของโรคกลัว
ปัจจัยด้านชีวภาพ
สมดุลปริมาณสารสื่อประสาท
การทำงานของสมอง
ปัจจัยด้านจิตใจ
การบำบัดรักษาพยาบาล
การบำบัดด้านจิตใจคือการทำจิตบำบัด
พฤติกรรมบำบัด รักษาที่ใช้กันมากที่สุดในโรค Specific Phobia
จิตบำบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม ปรับแก้ความคิดที่บิดเบือนจากความเป็นจริงต่อคน สิ่งของ หรือสถานที่กลัว
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น ให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจและปลอดดภัย
ผู้บำบัดควรมีลักษณะที่จริงใจ ยอมรับในอาการของผู้ป่วย
การบำบัดด้านร่างกาย นิยมใช้ต้านอารมณ์
โรควิตกกังวลผิดปกติ ( Anxiety Disorder ) เกิดความรู้สึกตระหนก หวาดหวั่น สะพรึงกลัวโดยไม่มีสาเหตุที่ชัดเจน
1.1 Panic Disorder อาการตื่นกลัวสุดขีด การรับรู้เหตุการณ์และเหตุผลน้อย
ลักษณะอาการทางคลินิก
ใจสั่น ใจเต้นแรงคือหัวใจเต้นเร็วมาก
เหงื่อแตก
ตัวสั่น
คลื่นไส้ ท้องไส้ปั่นป่วน
หายใจไม่อิ่มหรือหานใจขัด
สาเหตุของ Panic Disorder
ปัจจัยด้านชีวภาพ
กายวิภาคของสมอง
ความสมดุลของสารสื่อประสาท
พันธุกรรม
ปัจจัยด้านจิตใจ
มีอาการตื่นตระหนก
การบำบัดรักษาพยาบาล
การบำบัดด้านร่างกาย
การบริหารยาในการรักษาโรควิตกกังวลคือให้ยาคลายกังวล
การบำบัดด้านจิตใจคืการทำจิตบำบัด
พฤติกรรมบำบัด วิธีการรักษาระยะสั้นและแก้ปัญหาแบบเฉพาะเจาะจง
จิตบำบัดแบบการปรับความคิดและพฤติกรรม
การกำจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความมั่นใจและรู้สึกปลอดภัย
ผู้บำบัดควรมีลักษณธจริงใจ ยอมรับในอาการของผู้ป่วย เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก
สารเคมีในสมองไม่สมดุล
นอร์เอพิเนฟรินต่ำ ทำให้เซื่องซึม ขาดความตื่นตัว ไม่กระตือรือร้น
โดพามีนต่ำ มีอาการสั่น เช่น ในโรคพาร์กินสัน
แอซิติลโคลีนต่ำ ทำให้สมาธิสั้น ความจำไม่ดี โดยเแพาะความจำระยะสั้น
ซีโรโทนินต่ำ มีภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล ย้ำคิดย้ำทำ
การทำงานขงสารในสมองกับโรคและความวิตกกังวล
ความวิตกกังวล คือ ความรู้สึกไม่สบายใจ หวาดหวั่น ไม่มั่นใจต่อสภาพการณ์ในอนาคต เกรงว่าจะเกิดอันตรายหรือความเสียหาย
โรควิตกกังวล เช่น โรคหัวใจเต้นเร็วและตัวสั่นมีโรควิตกกังวลหลายอย่าง
อาการวิตกกังวลที่มากเกินไป มีลักษณะอาการ มีอาการรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อสิ่งมากระตุ้น มีอาการเป็นอยู่นานเกินไปที่เกิดขึ้นยังอยู่แม้สิ่งกระตุ้นหรือเหตุการณืต่างๆ ได้ผ่านไปหมดแล้ว
1.3 Generalized Anxiety Disorder (GAD) เป็นภาวะหวาดวิตกที่มีอยู่อย่างไรเหตุผลและมากกว่าเกินเหตุ เกี่ยวกับเรื่องงาน เรื่องเรียน
ลักษณะอาการทางคลินิก
ไม่มีสมาธิ
หงุดหงิดง่าย
กล้ามเนื้อตึงเครียด
อ่อนเพลียและเหนื่อยง่าย
มีปัญหาด้านการนอน
อยู่นิ่งไม่ได้ กระสับกระส่าย
สาเหตุของ GAD
ปัจจัยสาเหตุด้านชีวภาพ
การลดลงของระดับ Serotonin ช่วยให้คิดในแง่ดี ใจสงบ ผ่อนคลาย
การเพิ่มมากเกินไปของ norepinephrine เพิ่มอัตรการเต้นของหัวใจ เพิ่มความดันโลหิต
การฃดฃงของ GABA ช่วยให้สมองเกิดการผ่อนคลาย
โรคโซมาโตฟอร์ม (Somatoform Disorders) อาการปวดตามร่างกาย อวัยวะทำงานไม่ปกติ
Somatic Symptom Disorder อาการปวดเป็นอาการนำมาพบแพทย์
Conversion Disorder การเคลื่อนไหวหรือความผิดปกติในประสาทสัมผัส
ลักษณะทางคลินิก มีอาการด้านการเคลื่อนไหว ด้านประสาทสัมผัส อาการชัก อาการผิดปกติของการรับสัมผัสพิเสษ อาการร่วมการเคลื่อนไหวและการรับความรู้สึก