Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสนทนาให้เกิดความสัมพันธ์ - Coggle Diagram
การสนทนาให้เกิดความสัมพันธ์
การสนทนาให้เกิดความสัมพันธ์
ความหมายของการสนทนา
การสื่อสารโต้ตอบระหว่างบุคคลสองคนขึ้นไป เป็นการพูดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อสังเกตความคิดเห็นหรือความรู้สึกระหว่างคน การสนทนาต้องเป็นไปเพื่อสร้างมิตรภาพและเพื่อประโยชน์ในการแสดงและรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ผู้สนทนาที่ดีต้องเป็นผู้ฟังที่ดีด้วย คือตั้งใจฟัง ยอมรับฟังผู้อื่นได้
ปัจจัยในการสนทนา
กาละ รู้ว่าเป็นเวลาใด
เทศะ ในที่นี้ไม่ใช่รู้ว่าเป็นสถานที่ใด
บุคคล ซึ่งรวมทั้งผู้สื่อภาษา
กรอบวัฒนธรรม สังคมทุกสังคมจะมีการสะสมความรู้ว่าอะไรเป็นอะไร
วัตถุประสงค์ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ขึ้นอยู่กับตัว ผู้สื่อภาษาเอง
วัตถุประสงค์ในการสนทนา
การแจ้งให้ทราบ
การถามให้ตอบ
การบอกให้ทำ
การปฏิสันถาร
การสร้างสุนทรียะและความสนุกสนาน
การสนทนาเพื่อสร้างสัมพันธภาพ
ความหมาย
การพูดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อสังเกตความคิดเห็นหรือความรู้สึกระหว่างคน เป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล โดยพูดคุยให้เกิดความรู้สึกดีๆ เกิดขึ้น การสนทนาที่จะมีสัมพันธ์ภาพที่ดีกับผู้อื่นได้นั้น ต้องเกิดจากการพูดด้วยความพึงพอใจ ความรักใคร่ ความศรัทธา และความจริงใจ
องค์ประกอบ
ต้องรู้จักเข้าใจตนเอง
ต้องรู้ความต้องการและความรู้สึกของผู้อื่น
ต้องสร้างแรงจูงใจ
ต้องทราบถึงวิธีการเอาชนะและครองใจคน
ประเภทของการสนทนา
การสนทนาแบบเผชิญหน้า (face to face communications)
การสนทนาแบบไม่เผชิญหน้า (Interposed communications)
หลักการแนะนำตัว
ถ้าผู้ร่วมสนทนาไม่รู้จักกันมาก่อน ต้องแนะนำผู้น้อยให้รู้จักผู้ใหญ่
แนะนำผู้ชายให้รู้จักผู้หญิง ไม่ควรเย้าแหย่ในเรื่องส่วนตัวผู้แนะนำต้องมีหลัก ว่าต้องพยายามที่จะทาให้ทั้งสองฝ่ายเกิดความรู้สึกที่ดีต่อกัน และเกิดสัมพันธภาพที่ดี
ถ้าไม่มีผู้แนะนำตัว แต่ต้องแนะนำตัวเอง ก็ใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน คือ บอกชื่อ นามสกุล
ลักษณะการเป็นคู่สนทนาที่ดี
การสนทนาที่เสริมสร้างบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพกับการสนทนา การแต่งกาย ทรงผม ท่าทางการเคลื่อนไหว อิริยาบทในการยืน การเดิน การนั่ง และบุคลิกภาพใน ได้แก่ นิสัยใจคอ อารมณ์ ความรู้สึก ความรอบรู้ ความเชื่อมั่นในตนเอง
น้ำเสียงการพูดจา ระวังอย่าทำเสียงเล็กเสียงน้อย ฝึกตัวเองให้พูดจาด้วยน้ำเสียงจริงจังฉะฉานชัดถ้อยชัดคำ
รู้จักเรียนรู้สังเกตคู่สนทนา ฝึกเรียนรู้สังเกตคู่สนทนาว่าเป็นคนแบบไหน ชอบให้พูดแบบยกตัวอย่างประกอบ หรือชอบฟังอะไรที่สั้น กระชับไม่ยืดยาว
การมีสัมพันธภาพที่ดีได้พยาบาลจะมีคุณลักษณะต่างๆ
ความรักในเพื่อนมนุษย์ (Love)
ความห่วงใย (care)
ความเอาใจใส่ (concern)
การเคารพในความเป็นบุคคล (Respect) ของผู้อื่น
การเห็นใจเข้าใจในความรู้สึกของผู้อื่น (Empathy)
ความเชื่อถือ ไว้วางใจ (Trust)
ความจริงใจ (Genuineness)
ความเข้าใจ (Understanding)
การยอมรับ (Acceptance)
การเอาใจใส่ดูแล (Caring)
ทักษะในการสนทนา ทางการพยาบาล
ทักษะการใส่ใจ (Attending skill)
การแสดงออกทางสีหน้า เป็นการเสริมแรงทางบวกหรือลบต่อพฤติกรรมการพูดของผู้ใช้บริการ
การผงกศีรษะ เป็นครั้งคราวพร้อมกับการประสานสายตาอย่าง เหมาะสม
ทันที การพูดด้วยคำพูดหรือวลี สั้นๆ เข้าใจง่ายและเหมาะสมกับความสามารถในการรับรู้ของผู้ใช้บริการ
น้ำเสียงที่น่าฟัง ไม่แสดงความตื่นเต้น เสียงไม่สูงหรือต่ำเกินไป
ทักษะการฟัง
กระทำที่ “passive แต่ในการตอบสนองข่าวสารโดยส่วนรวมทั้งหมดการฟังมิได้เป็นเพียงเฉพาะ “การฟัง ด้วยหู”
การฟังด้วยหูที่สาม ” ซึ่งหมายความว่า “เงียบ” และฟังอีกทั้งสามารถ ตอบคำถามผู้รับบริการว่า “อะไรกำลังเกิดขึ้น”
ทักษะการใช้คำถาม
การเตรียมคำถาม
การดำเนินการใช้คำตอบ
คำถามเพื่อฟังความคิดเห็น
คำถามเพื่อสอบถามข้อมูล “วันนี้จะมีญาติมาเยี่ยมคุณไหมคะ”
คำถามเพื่อความกระจ่าง
คำถามเพื่อย้ำหรือสรุป
การใช้คำถามมีสิ่งที่จะต้องระวัง
ภาษาที่ใช้
แบบของคำถามที่ใช้
ลำดับขั้นของคำถาม
อุปสรรคของการสนทนาที่พบบ่อย
ผู้พูด
ไม่มีความตั้งใจอย่างแท้จริงที่จะทำให้ผู้ฟังเข้าใจข้อมูล
ขาดทักษะและประสบการณ์
ผู้ฟัง
ได้ตัดสินหรือเข้าใจว่าผู้พูดได้ยึดความคิดเห็นของตัวเองเรียบร้อยแล้ว
รับฟังเฉพาะในส่วนที่ตัวเองต้องการอยากจะฟังเท่านั้น
ไม่สามารถรับฟังข้อมูลที่แตกต่างจากตัวเองได้
ผู้ฟังไม่มีสมาธิมากพอในการรับฟัง
สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม หรือให้เวลาไม่มากพอ
การสนทนาเพื่อสัมพันธภาพระหว่างบุคคล Interpersonal Relationships
Small talk การพูดคุยเล็กๆ น้อยที่สร้างสัมพันธภาพ
ARE (Anchor, Reveal และ Encourage) หนึ่งในเคล็ดวิชาของการ small talk คือการใช้บรรยากาศและสิ่งรอบตัวมาสร้างบทสนทนา
Big talk การสนทนาสาระหนักๆ ที่สร้างสัมพันธภาพ
การสนทนากับผู้ป่วยเด็ก
บอกพฤติกรรมที่ต้องการและไม่ต้องการให้ชัดเจน
บอกความรู้สึกให้เด็กรู้
สะท้อนพฤติกรรมเท่าที่เห็น
ช่วยให้เด็กเข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของตัวเอง
ให้ทางเลือกกับเด็ก
ชื่นชมความพยายามของเด็ก
ให้เด็กมีส่วนร่วมกับการวางแผน พูดสร้างกำลังใจ
การสนทนากับวัยรุ่น
การแยกสัมภาษณ์และการรักษาข้อมูลส่วนตัวของ
เทคนิคการสนทนาและพูดคุยกับวัยรุ่น
สร้างความคุ้นเคย
บอกเรื่องการรักษาข้อมูลส่วนตัว
หลีกเลี่ยงการตัดสินถูกผิด
แสดงบทบาทเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือ
เป็นผู้ฟังที่ดี
ใช้คำถามปลายเปิด
สร้างความรับผิดชอบ
พยายามจดบันทึกเฉพาะที่
มีบทสรุป ให้ความสำคัญและหาข้อมูลเพิ่มเติมจากครอบครัว
การสนทนากับวัยต่างๆ
ผู้สูงอายุ
พูดช้าลง ใช้คำพูดที่ชัดเจนไม่วกวน
ให้เวลาในการสนทนามากกว่าปกติทั่วไป รับฟังให้มาก การสรุปและจดบันทึกความจำสั้นๆ
การทักทายรวมทั้งแสดงความเคารพกับผู้สูงวัยอย่างเหมาะสม
การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
พูดเสียงดัง ฟังชัดและเหมาะสม
พูดทีละประเด็น เว้นระยะและเปิดโอกาสให้ได้ซักถามหรือแสดงความคิดเห็น
การสนทนาในห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การเปิดโอกาสให้ครอบครัวได้ระบายความรู้สึกและซักถามเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการรักษาผู้ป่วย
การให้ข้อมูลแก่ครอบครัว