Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดทฤษฎีการบริหารทางการพยาบาล - Coggle Diagram
แนวคิดทฤษฎีการบริหารทางการพยาบาล
ความหมายของการบริหาร
การที่บุคคลทำงานอย่างสำเร็จบรรลุเป้าหมาย โดยผ่านผู้อื่นดำเนินการตั้งแต่2คนขึ้นไป
โดยมีผู้บริหารเป็นผู้จัดการด้านทรัพยากร เป็นผู้ตัดสินใจและชี้นำผู้อื่นให้ดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมาย
การบริหาร คือการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า
แนวคิดการดูแลเพื่อเพื่อนมนุษย์ (Humanization)
2.แนวคิดการเห็นอกเห็นใจกัน (Empathy)
3.แนวคิด/ค่านิยมสำหรับ Humanized health care
1.แนวคิดองค์รวม (Holistic care)
4.แนวคิดเรื่องระดับการพัฒนาสุขภาวะทางปัญญา
ความสำคัญของการบริหาร
ช่วยให้บุคลากรพยาบาลร่วมกันทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ช่วยชี้ให้เห็น ถึงแนวโน้มความสำเร็จขององค์กรในอนาคต
ช่วยให้องค์กรทรัพยากรพยาบาลมีความก้าวหน้า การคงอยู่อย่างยั่งยืน
เป็นเครื่องมือในการจัดระเบียบองค์กรพยาบาลที่ซับซ้อน
ความสามารถของผู้บริหารการพยาบาลที่ต้องใช้เครื่องมือในการวินิจฉัยสั่งการ
เป็นเครื่องมือช่วยให้บุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติหน้าที่ที่มีคุณภาพต่อผู้ใช้
ทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม
ทฤษฎีบริหารเชิงวิทยาศาสตร์
เน้นบริหารที่ตัวงาน
ใช้วิธีการตั้งปัญหา
ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร
กระบวนการบริหารจะแตกต่างตามแนวคิดของผู้บริหารแต่ละคน
ผู้บริหารเป็นผู้ประสานกระบวนการต่างๆภายในองค์กรเข้าด้วยกัน
ทฤษฎีระบบราชการ
นักทฤษฎีคือ Max Weber
แนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์กร
เน้นการมีเหตุผลเป็นสำคัญ
องค์ประกอบการบริหาร
Input
ทรัพยากรทางการบริหาร
Process
กระบวนการบริหาร
Input---process---product or output
Product or output
ผลทั้งหมดที่เกิดจากการบริหาร สุขภาพของผู้ใช้บริการด้านสุขภาพ
แนวคิดการบริหาร
Task center
มองผลงานและกำไรเป็นสิ่งสำคัญ
กำหนดวิธีการทำงานที่ดีที่สุด และจะปรับคนให้เข้ากับงาน
ผู้บริหารการพยาบาลที่มีแนวคิดแบบนี้จะมุ่งงานเป็นหลัก
Personal center
ปรับงานให้เข้ากับคน หรือ แนวทางแลลมนุษย์สัมพันธ์
การบริหารที่มุ่งถึงประสิทธิภาพตามสถานการณ์
Modern development
ทฤษฎีบริหารที่เกิดขึ้นใหม่
ให้ความสำคัญกับคำว่า คุณภาพ
การบริหารองค์กรต้องปรับตัวตามสถานการณ์ใหม่ๆได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้การบริหารแนวใหม่
การบริหารเชิงพุทธ
People Management
ผู้บริหารกับทศพิธราชธรรม และพรหมวิหารสี่
สัปปุริสธรรม 7 ประการ