Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อิทธิพลทางด้านภาษาและวัฒนธรรมของชาติต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อภาษาและวัฒนธรร…
อิทธิพลทางด้านภาษาและวัฒนธรรมของชาติต่างๆ
ที่ส่งผลกระทบต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
อิทธิพลต่างชาติแบบจีนที่ผลต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
อิทธิพลต่อระบบเสียง มีลักษณะเสียงผิดแผกไปจากระบบภาษาไทย คือ พยัญชนะเสียงระเบิด ไม่ก้อง ไม่มี ลม
อิทธิพลต่อระบบคำ รับคำจากทางด้านการค้าขาย เช่น กุ๊ก ไชโป๊ แป๊ะซะ
อิทธิพลในเรื่องสำนวน แปลเป็นสำนวนไทยและเลือกใช้คำให้เหมาะสมกับที่เป็นวรรณกรรมจีน เช่น หากจะเปรียบกับสัตว์ก็จะเป็นมังกร
-การแต่งกาย ได้รับอิทธิพลมาจากจีนบางส่วน เช่น กางเกงขาก๊วย ชุดกี่เพ้า เสื้อคอจีน
-อาหารเช่น ก๋วยเตี๋ยว ซาลาเปา ปาท่องโก๋ ขนมจีบ
-ทางด้านความเชื่อ -มีการนับถือเซ่นไหว้บรรพบุรุษ
อิทธิพลต่างชาติแบบอินเดียที่ผลต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
มีคำหลายพยางค์เกิดขึ้น
-ทำให้เกิดคำที่มี “ทร” เป็นพยัญชนะต้น เช่น นิทรา จันทรา และบางคำจะออกเสียง เป็น “ซ”เช่น มัทรี แทรก ไทร ทรัพย์
อิทธิพลต่อระบบเสียง
-เมื่อรับภาษาบาลีสันสกฤตจะมีสระ “อิ” “อุ ” ปรากฏนำ หน้าในคำสองพยางค์ เช่น วิชา จุฑา
-มีการเปลี่ยนแปลงด้านการออกเสียงคือ
ออกเสียงให้เสียงพยัญชนะข้างหน้า นำ พยัญชนะที่ตามมา เช่นหิริโอตัปปะ ออกเสียงว่า หิ-หริ-โอด-ตับ-ปะ
เอิกเกริก ออกเสียงว่า เอิก-กะ-เหริก
อิทธิพลต่อระบบคำ
-ทำให้มีการรับเอาอุปสรรค ปัจจัย มาสร้างคำในภาษาไทย ซึ่งเดิมภาษาไทยจะใช้
อิทธิพลในด้านการเขียน มีการใช้การันต์
มีการยืมคำในภาษาต่าง ๆ
มาใช้มากมาย
การติดต่อค้าขายระหว่างกันและการรับเอาวัฒนธรรมประเพณี
มีการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศ
อิทธิพลด้านการศึกษาต่อต่างประเทศ
อาณาเขตใกล้เคียงกัน
สภาพทางภูมิศาสตร์
ความคิดความเชื่อทางศาสนา
บางส่วนที่ทำให้ภาษาต่างประเทศเข้ามามีบทบาทเปลี่ยนแปลงในภาษา
อิทธิพลด้านความเจริญทางเทคโนโลยีและการเผยแพร่ข่าวสาร
ภาษาตะวันตก เริ่มเข้าสมัยรัชกาลที่3แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อร้อยเอกเจมส์ โลว์ชาวอังกฤษคิดตัวพิมพ์ภาษาไทยได้สำเร็จ
ภาษาเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่สามารถถ่ายทอดซึ่งกันและกันได้
อิทธิพลต่างชาติแบบตะวันตกที่มีผลต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
อิทธิพลต่อระบบเสียง ภาษาอังกฤษมีอิทธิพลในด้านระบบเสียงเกี่ยวกับคำทับศัพท์
อิทธิพลต่อระบบเสียง ภาษาอังกฤษมีอิทธิพลในด้านระบบเสียงเกี่ยวกับคำทับศัพท์
อิทธิพลต่อระบบคำเกิดการสร้างคำ ประสมเป็นจำนวนมาก ส่วนมากเป็นคำศัพท์ทางด้านวิชาการ เช่น ต่อมไทรอย
จุดโฟกัส เชิงอะตอม
การเปลี่ยนแปลงแค่รูปคำ แต่มีความหมายไม่
ความแตกต่างกับคำเดิม เช่น เกิด เป็น บังเกิด
คม เป็น บังคม
อิทธิพลในด้านการใช้ตัวอักษร ภาษาไทยรับตัวอักษรเขมรมาใช้ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อแสดงความศักดิ์สิทธิ์ ความน่าเลื่อมใสศรัทธา
อิทธิพลแบบเขมร ที่มีผลต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
นายองอาจ นันตะนะ
รหัส63719004028 ห้อง 4