Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขด้วยการกระทำของสกินเนอร์ (OPERANT CONDITIONING THEORY)…
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขด้วยการกระทำของสกินเนอร์
(OPERANT CONDITIONING THEORY)
หลักการ
จับหนูที่หิวโซขังไว้ใน skiner box ในนั้นจะมี คาน
ถาดอาหรหาร และหลอดไฟ
กระวนกระวายวิ่งไปรับรอบๆจนไปชนคานแล้วมีอาหารตกลงมา
ใส่ถาด
ในระยะแรกหนูยังไม่ทราบว่าอาหารตกมาได้อย่างไรมันจะทำแบบเดิม จนที่สุดมันเกิดการเรียนรู้จะหาได้
หนูจะมีความถี่ของพฤติกรรมเพิ่มขึ้น
แนวคิด
การวัดพฤติกรรมการตอบสนอง
การศึกษาจิตวิทยาควรจำกัดอยู่ในพฤติกรรมที่สังเกตได้อย่างชัดเจน
วัดได้โดยพิจารณาความถี่ของการตอบสนองในช่วงเวลาหนึ่ง
พิจารณาจากอัตราการตอบสนอง
อัตรการตอบสนองการเสริมแรง
การเปลี่ยนแปลงอัตราการตอบสนองจะเกิดขึ้นเมื่อมีการเสริมแรง
การตอบสนองที่เปลี่ยนแปลงเรียกว่าตัวเสริมแรง
สิ่งเร้าที่ไม่เปลี่ยนแปลงการตอบสนองเรียกว่าไม่ใช่ตัวแสดง
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตไว้
Respondent Behavior
พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ
การกระพริบตา น้ำลายไหล
Operant Behavior
พฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเป็นผู้กำหนด หรือเลือกที่จะแสดงออกมา ส่วนใหญ่แสดงออกในชีวิตประจำวัน
นอน พูด เดิน ทำงาน ขับรถ
พฤติกรรม
Behavior
พฤติกรรมที่แสดงออก
เดิน นอน นั่ง
Consequences
ผลของการกระทำ เป็นตัวบอกว่าจำทำพฤติกรรมแบบนั้นอีกหรือไม่
เมื่อหิวจะคอยเปิดตู้เย็นเพื่อหาอะไรกิน
Antecedents
เงื่อนไขนำหรือสิ่งเร้าที่กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม
ทุกพฤติกรรมต้องมีเงื่อนไขนำ
วันนี้ต้องเข้าเรียนบ่ายโมง พฤติกรรมเราถูกกำหนดด้วยเวลา
เป็นการเรียนรู้แบบ type R
ประวัติ บี.เอฟ.สกินเนอร์
เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ.1940 ที่ มลรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา
จบปริญญาตรี ทางวรรณคดี ในอังกฤษ
นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
อยากเป็นนักเขียนนิยายแต่ไม่ประสบความสำเร็จ
เข้าศึกษาต่อสาขาจิตวิทยา ระดับปริญญาโทและเอก ณ มหาวิทยาลัย ฮาร์ดเวิร์ด ปี ค.ศ.1982วิชาเอกพฤติกรรมศาสตร์
ตัวเสริมแรง
ตัวเสริมแรงทางบวก
(ปฐมภูมิ)
สิ่งเร้าชนิดหนึ่งเมื่อได้รับทำให้เกิดความพึงใจอัตราการตอบสนองเปลี่ยนแปลงเข้มข้นขึ้น เช่น คำชมเชย
สิ่งที่ทำให้เกิดความสบายใจ และได้รับรางวัล
เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ตัวเสริมแรงทางลบ
(ทุติยภูมิ)
สิ่งที่ทำให้เกิดความอึดอัด
เกิดการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม
สิ่งเร้าชนิดหนึ่ง เมื่อตัดออกไปจะมีผลให้เกิดความไม่สบายใจอัตราการตอบสนองเข้มข้นขึ้น เช่น คำตำหนิ ดุด่า
การลงโทษ
การลงโทษ
แบบที่ 1
พฤติกรรมลดลงเมื่อมีสิ่งเร้าโดยเฉพาะสิ่งที่ไม่พึงปรากฏเกิดขึ้น
ถูกเพื่อนหาว่าโง่มาตั้งคำถามกับผู้สอนเด็กคนนั้นจึงเลิกตั้งคำถามครูในชั้นเรียน
แบบที่ 2
พฤติกรรมลดน้อยลงเมื่อนำสิ่งเร้าที่เขาพึงปรารถนาออกไป
ผู้เรียนถูกหักคะแนนข้อสอบข้อสอบในลักษณะที่แตกต่างจากครูผู้สอนเขาจึงไม่ตอบลักษณะนั้นอีก
การเสริมแรง
การเสริมแรงทางลบ
ส่งงานตามเวลาทำให้ไม่เกิดความกังวล ดังนั้นครั้งต่อไปจึงรีบทำให้เสร็จตรงเวลาเหมือนเดิม
พฤติกรรมเพิ่มขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้าที่ไม่พึงประสงค์ถูกทำให้ลดน้อยหรือหมดไป
การเสริมแรงทางบวก
ส่งงานตรงเวลาทำให้ได้รับ"คำชม"จากครู
พฤติกรรมเพิ่มขึ้นเมื่อมีสิ่งร้าวที่บุคคลนั้นต้องการ