Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ม.2เรื่อง1.หลักฐานทางประวัติศาสตร์ - Coggle Diagram
ม.2เรื่อง1.หลักฐานทางประวัติศาสตร์
2.หลักฐานทางประวัติศาสตร์
1.ประเภทของหลักฐาน
แบ่งตามความสำคัญ
2.หลักฐานชั้นรอง/ทุติยภูมิ
หลักฐานที่ผู้เขียนไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์นั้นเช่น
หนังสือประวัติศาสตร์ สารานุกรม
1.หลักฐานชั้นต้น/ ปฐมภูมิ
จดหมายเหตุ
พงศาวดาร
โบราณสถาน
ภาพถ่าย
โบราณวัตถุ
เอกสารราชการ
คือหลักฐานที่เขียนหรือสร้างขึ้นในสมัยที่เกิดเหตุการณ์โดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์
แบ่งตามลักษณะของหลักฐาน
1.เป็นลายลักษณ์อักษร
(หลักฐานที่มีการบันทึกเป็นตัวหนังสือลงบนวัสดุที่คงทน)
1.จารึก
เกิดจากการเขียนรอยลึกเป็นตัวอักษรลงบนแผ่นศิลา
2.ตำนาน
เช่นตำนานมุลศาสนา ชินกาลมณีปกร์ ตำนาน
3.พระราชพงศาวดาร
บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับกษัตริย์และอาณาจักร
4.จดหมายเหตุ
เป็นบันทึกเรื่องราวร่วมสมัยคือผู้บันทึกจดเรื่องราวนั้นในวันที่เกิดเหตุหรือวันที่ใกล้เคียง
5.เอกสารปกครอง
3 more items...
6.งานเขียนทางประวัติศาสตร์
2.
**หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
(สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นไม่เป็นลายลักษณ์อักษร)
4.คำบอกเล่า
เ่ช่น นิทาน สุภาษิต ปริศนาคำทาย ขนบธรรมเนียม ชีวประวัติบุคคลสำคัญ ประวัติสถานที่
5.โสตทัศน์
เช่นภาพถ่าย ฟิล์มสไลด์ แถบบันทึกเสียง
3.ดนตรี เพลงพื้นบ้าน นาฎศิลป์
2.ศิลปกรรม
สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม
1.โบราณวัตถุ
สิ่งของที่ผู้คนในสมัยก่อนสร้างขึ้นหรือเกิดขึ้นเองสามารถเคลื่อนย้ายได้
2 more items...
โบราณสถาน
สิ่งก่อสร้างที่เป็นของเก่ามีอายุนานนับร้อยปีก่อสร้างโดยผู้คนในสมัยก่อนอยู่ติดกับพื้นดินไม่อาจเคลื่อนที่ไปได้เช่น วัดโบสถ์ เจดีย์ พระธาตุ พระปรางค์ ปราสาท อนุสาวรีย์ พระราชวัง
2.2
สมัยธนบุรี
3.บันทึกจากเรื่องบอกเล่า
จดหมายเหตุความทรงจำกรมหลวงนรินทรเทวี(กล่างเรื่องก่อนเสียกรุงครั้งที่2-รัตนตอนต้น)
1.พระราชพงศาวดาร
พงศาวดารกรุงธนบุุรีฉบับจันทนุมาศ (ประวัติพระเจ้าตากและเหตุการณ์สมัยธนบุรี)
2.เอกสารชาวต่างชาติ
ชิงสื่อลู่
(พระราชวงศ์ชิง-พระเจ้าตาก)
2.1
สมัยอยุธยา
2.จดหมายเหตุโหร
คืองานของโหรหลวงบันทึกพระราชกรณียกิจและเหตุการณ์ในบ้านเมืองตามลำดับวันที่เกิดเหตุ โดยสรุปสั้นๆ
เช่น
ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก
5.หลักฐานทางโบราณคดีและศิลปกรรม
โบราณสถาน โบราณวัตถุ
1.พระราชพงศาวดาร*
มี2 ประเภท
ยัง
ไม่
ผ่านการชำระ(ไม่ผ่านการแก้ไข เปลี่ยนแปลง)
**พรพ ฉบับกรุงเก่าหลวงประเสริฐ
พรพ ความเก่าจศ1136
พรพ ฉบับหอสมุดวชิรญาณ
ที่ผ่านการชำระ
พรพ กรุงศรีอยุธยาฉบับจันทนุมาศ (เจิม)
พรพ.กรุงเก่าฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด)
พรพ.กรุงศรีฉบับสมเด็จพระนพรัตน์
พรพ..กรุงสยามจากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน (ตั้งชื่อตามแหล่งที่มา)
พรพ ฉบับพระราชหัตถเลขา (ตั้งชื่อนี้เพราะ ร.4ทรงตรวจแก้ไขและมีลายพระหัตถ์
คือบันทึกเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจking
3.จดหมายเหตุต่างชาติ
จดหมายเหตุฟานฟลีต
(วันวลิต)ชาวฮอลันดา
จดหมายเหตุลาลูแบร์
(ราชทูตฝรั่งเศส)
หมิงสื่อลู่
จดหมายเหตุของโยสต์
(พ่อค้าฮอลันดา)
4.วรรณกรรม
เช่น
ลิลิตโองการแช่งน้ำ ลิลิตยวนพ่าย
สมัยสุโขทัย ม.1
1จารึก
หลักที่1ประวัติพ่อขุน หลักที่38กฎหมายลักษณะโจร /หลักที่45 การสาบานไมตรีกันระหว่างปู่พระยากับหลานพระยา
อักษรที่เก่าแก่ที่สุดใช้
อักษรปัลลวะของอินเดีย
--ต่อมาอักษรขอม--อักษรมอญโบราณ--อักษรไทย
2พระราชพงศาวดารและตำนาน
พรศโยนก เกี่ยวกับตำนานภาคเหนือ
พงศาวดารเมืองน่าน แต่งชำระในร.5
พรศ กรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐ
ตำนาน เช่น ตำนวนชิบกาลมาลีปกรณ์ ตำนานมูลศาสนา
3.จดหมายเหตุ
หยวนสื่อ กล่างว่าพ่อขุนรามสวรรคต1841
4.วรรณกรรมไตรภูมิพระร่วง(ไตรภูมิกถา)
พระยาลิไทเป็นคนแต่ง
5.โบราณคดี
โบสถ์ วิหาร เมืองโบราณ ร่องรอยชุมชนโบราณ
6.ศิลปกรรม
สถาปัตยกรรม
เจดีย์ทรงดอกบัวตูม (พุ่มข้าวบิณฑ์)
++++พบที่วัดมหาธาตุ และเจดีย์วัดเจ็ดแถวเมืองศรีสัชนาลัย
ประติมากรรม
พระพุทธชินราช
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก /
พระพุทธรูปปรางลีลา
วัดเบญจมบพิตร กทม
ภาพลายเส้น
หินชนวน วัดศรีชุม สุโขทัย
7.โสตทัศน์
ภาพถ่ายทางอากาศ
4.วิธีการทางประวัติศาสตร์ มี 5 ขั้นตอน
4.3การตรวจสอบและประเมินหลักฐาน**
ภายนอก
3.จุดมุ่งหมายของหลักฐาน
เพื่อช่วยประเมินความน่าเชื่อถือ
1.อายุหลักฐาน
เพื่อให้ทราบว่าหลักฐานถูกสร้างเมื่อไร่ ทำให้ตีความสำนวนและเข้าใจสิ่งที่หลักฐานกล่าวถึงโดยอาศัยสภาพแวดล้อมในยุคนั้นมาประกอบ
4.รูปเดิมของหลักฐาน
ซึ่งส่วนใหญ่จะไม่ใช่หลักฐานดั้งเดิมแต่มีการเปลี่ยนแปลง คัดลอกทำให้คลาดเคลื่อนได้ เช่นพระราชพงศาวดารที่มีการชำระ
2.ผู้สร้างหรือเขียนหลักฐาน
ว่าใครเป็นผู้สร้าง ทำให้ตรวจสอบภุูมิหลังว่ามีความเกี่ยวข้อง มีใกล้ชิดกับเหตุการณ์ มีอคติหรือไม่
คือการพิจารณาลักษณะภายนอก เพื่อให้รู้ว่า
จริงหรือปลอม
โดยพิจารณาว่าใครสร้าง เมื่อไหร่ ทำเพื่ออะไร
ภายใน
เพื่อ
พิจารณาสาระที่อยู่ในหลักฐาน
ว่าบอกเรื่องราวอะไร แตกต่างหรือเหมือนกับหลักฐานอื่นๆหรือไม่
4.4การตีความ
ลักษณะข้อมูลที่ได้จากการตีความ
1.
ความจริง
คือ สิ่งที่มั่นคงไม่เปลี่ยนแปลง
เป็นที่ยอมรับ มีหลักฐานยืนยันแน่นอน
2.
ข้อเท็จจริง
คือข้อมูลที่ได้จากหลักฐานที่
ยังไม่ได้ตรวจสอบว่
าเป็นข้อมูลจริงหรือเท็จ ความคิด ความเชื่อ ต้องการหลักฐานมาพิสูจน์
3.
ความคิดเห็น
คือส่ิงที่เกิดจากประสบการณ์ ทัศนคติ ค่านิยม อารมณ์ มีหรือไม่มีหลักฐานก็ได้
มี2ลักษณะ
1.ข้ั้นต้น
ความรู้ที่ผู้ตีความควรมี
3.มีข้อมูลที่เกี่ยวข้องครบถ้วน
1.มีความรู้ทางภาษา
2.มีความเข้าใจสภาพแวดล้อม
คือตีความตามตัวอักษร
ดูว่ามีอะไรเกิดขึ้น ใคร ทำอะไร ที่ไหน กับใคร เมื่อไหร่ อย่างไร
2.ขั้นลึก
เพื่อหาข้อมูลที่ผู้บันทึกไม่ได้บอกไว้ตรงๆ แอบแฝงไว้
คือ
การทำความเข้าใจ
ว่าหลักฐานนั้นให้
ข้อมูลอะไร และอธิบายข้อเท็จจริงว่าหมายความว่าอะไร
ตีความด้วยใจเป็นกลาง ไม่ตีความเกินจริง ตีความตามยุคสมัยของหลักฐาน
4.2การรวบรวมหลักฐาน
4.1.กำหนดหัวข้อที่จะศึกษา
4.5การสังเคราะห์
คือร่องรอยพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีตที่ยังหลงเหลืออยู่