Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิสัยทัศน์ โครงการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ และแผนพัฒนาการศึกษาไทย,…
วิสัยทัศน์ โครงการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ และแผนพัฒนาการศึกษาไทย
โครงการศึกษา
มีฐานะเป็นกฎหมาย ใช้เป็นแนวทางในการจัดการศึกษา
แต่ละโครงการศึกษามีระเบียบแบบแผน เป้าหมาย และนโยบายที่แน่นอน
ประกาศเป็นพระบรมราชโองการ จากพระมหากษัตริย์
เพื่อให้ประชาชนได้รับ อย่างกว้างขวาง และสูงขึ้น
ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปี 2475 การจัดการศึกษาประเทศไทยยึดถือ "โครงการศึกษา"
เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตยมีโครงการศึกษา 7 โครงการ
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2452
จัดการศึกษาที่สูงกว่าประถมศึกษา คือ ระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาเพื่อให้นักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาสูงแล้วไปศึกษาต่อในยุโรปโดยไม่ ต้องเสียเวลาเตรียมที่จะไปเข้ามหาวิทยาลัย
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2456
ปรับความ เข้าใจผิด ของราษฎร ปรับปรุงสามัญศึกษาและวิสามัญศึกษาให้มีความสัมพันธ์กับเปลี่ยนชื่อมูลศึกษาเป็นประถมศึกษา การศึกษามี 3 ระดับ คือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2458
แก้ไขข้อบกพร่องและ ปรับปรุงโครงการศึกษา พุทธศักราช 2456 ให้เหมาะสม ให้พลเมืองหันมาสนใจการศึกษาวิชาชีพ ให้มีการจัด สอนวิชาวิสามัญในระดับมัธยมศึกษา กล่าวถึงการศึกษาของสตรี
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2450
จัดการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) สามัญศึกษา มี 2 แผนก คือ แผนกสามัญ มี 3 ระดับ คือ มูลศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา เรียนระดับละ 3 ปี และแผนกพิเศษ มี 3 ระดับคือ มูลพิเศษ ประถมศึกษาเรียนระดับละ 3 ปี มัธยมพิเศษ เรียน 5 ปี
วิสามัญ ศึกษาเรียนทางด้านปฏิบัติ เช่น แผนกอังกฤษ ช่างแพทย์ ผดุงครรภ์และครู
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2445
แบ่งการศึกษา 3 ระดับ ได้แก่ ชั้นประถมศึกษา เรียน 3 ปี มัธยมศึกษาเรียน 3 ปี และอุดมศึกษา เรียน 5 ปี
การศึกษา มี 2 ประเภท ได้แก่ สายสามัญ และศีลธรรม
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2464
แก้ไขความนิยมอาชีพ เป็นเสมียนของพลเมือง โดยได้จัดทําคําแนะนําชี้แจงแก่ราษฎรเกี่ยวกับหนทางในการทํามาหาเลี้ยงชีพด้วยการเรียน วิชาชีพอย่างอื่น
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2441
ยกระดับมาตรฐานการศึกษาของประเทศให้สูงขึ้น
การจัดประเภทการศึกษา ระบบ การศึกษาให้มีระเบียบแบบแผน ในการพัฒนาการศึกษา
การขยายการศึกษาให้แพร่หลายทั้ง ประเทศ
แผนการศึกษาชาติหรือแผนการศึกษาแห่งชาติ
แต่ละแผนมุ่งเน้นพัฒนาการศึกษาให้เหมาะแก่เวลาและบริบท ของสังคมไทยในขณะนั้น
ระยะเวลาที่ใช้ในแต่ละแผนมีช่วงเวลาที่ไม่แน่นอน
เป็นแนวทางในการปฏิบัติในการจัดการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงแนวคิด นโยบาย หรือจุดมุ่งหมายของประเทศ ก็จะมีการประกาศใช้แผนการศึกษาชาติใหม่
ประกอบด้วย
แผนการศึกษาชาติ พุทธศักราช 2494
แผนการศึกษาชาติ พุทธศักราช 2503
แผนการศึกษาชาติ พุทธศักราช 2479
แผนการศึกษาชาติ พุทธศักราช 2520
แผนการศึกษาชาติ พุทธศักราช 2535
แผนการศึกษาชาติ พุทธศักราช 2475
แผนการศึกษาชาติ พุทธศักราช 2545-2559
แผนพัฒนาการศึกษาไทย
เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาศึกษาของประเทศที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลง
เหมาะสมกับบริบทสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมประเพณี
ประเทศไทยมีแผนพัฒนาการศึกษาชาติ 11 ฉบับ
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พุทธศักราช 2530-2534)
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พุทธศักราช 2535-2539)
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พุทธศักราช 2525-2529)
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พุทธศักราช 2540-2544)
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พุทธศักราช 2520-2524)
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พุทธศักราช 2545-2549)
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พุทธศักราช 2515-2519)
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่10 (พุทธศักราช 2550-2554)
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พุทธศักราช 2510-2514)
แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษา ฉบับที่ 11 (พุทธศักราช 2555-2559)
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พุทธศักราช 2504-2509)
เพื่อสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
วิสัยทัศน์
เป็นสภาพที่พึงปรารถนาในอนาคต
มีลักษณะในเชิงปรัชญา ที่สามารถให้ทิศทางกับผู้นําที่จะนําองค์กรไปสู่ภารกิจหลักที่มีความชัดเจน เป็นรูปธรรม
เน้นถึงความมุ่งมั่นในการพัฒนาให้ถึงจุดหมาย
แสดงจุดมุ่งมั่นในภารกิจ มีความชัดเจน จําได้ ง่าย และสามารถนําไปสู่การปฏิบัติได้
ภาพความสำเร็จในอนาคตขององค์กร
แผนการศึกษา
แผนการศึกษาแห่งชาติ
แผนงานหลักระยะยาวในการศึกษาของชาติ
เป็นแนวทางในการจัดและบริหารการศึกษาของชาติ นำไปสู่ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
ประกอบด้วย
ระบบการศึกษา
แนวปฏิบัติ
นโยบาย
เกณฑ์อายุมาตรฐานของนักเรียนแต่ละระดับ
ความมุ่งหมาย
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
เพื่อกำหนดทิศทางและขอบเขต ในการพัฒนาการศึกษาของชาติ
สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนกลยุทธ์ที่เพิ่มเติม จากแผนการศึกษาแห่งชาติ
นางสาววันเพ็ญ แพรเขียว รหัสนักศึกษา 63121684122
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู รุ่น 7 ห้อง 5