Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง
Apnea of prematurity (AOP)
ภาวะหยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที ร่วมกับมีcyanosis
central apnea
ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลม
ไม่มีอากาศไหลผ่านรูจมูกโดยมีสาเหตุมาจากศูนย์การหายใจที่บริเวณก้านสมองทำงานได้ไม่ดี
obstruction apnea
ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลม แต่ไม่มีอากาศไหลผ่านรูจมูก
เกิดจากการงอหรือการเหยียดลำคอเกิน ทำให้ช่องว่างภายในหลอดคอไม่เปิดกว้าง
สาเหตุ
1.prematurity
2.infection
3.metabolic disorder
4.Impaired oxygenation
5.CNS problem
6.drug
7.Gastroesophageal reflux
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
จัดท่านอนที่เหมาะสม
สังเกตอาการพร่องออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็น
ระวังการสำลัก
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
1.เลือดออกในช่องสมอง(IVH)
2.โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(BPD)
3.จอประสาทตาผิดปกติ(ROP)
Intraventricular hemorrhage(IVH)
ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง ปัญหาสำคัญที่พบในทารกคลอดก่อนกำหนด
ปัจจัยเสี่ยง
ก่อนคลอด
การคลอดทางช่องคลอด
ภาวะทารกขาดออกซิเจนขณะอยู่ในครรภ์
ภาวะตกเลือดก่อนคลอด
หลังคลอด
RDS
prolonged neonatal resuscitation
acidosis
pneumothorax
NEC
ภาวะชัก
มักเกิดในทารกคลอกก่อนกำหนดที่มี RDS รุนแรงและต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
รายที่มีเลือดออกปริมาณมากและเร็ว ทารกจะมีอาการทรุดลงอย่างรวดเร็ว หมดสติชัก เกร็ง หยุดหายใจ ซีด กระหม่อนหน้าโป่งตึง
การวินิจฉัยด้วยการตรวจ ultrasound
ความรุนแรง
grade 1 : มีเลือดออกที่ germinal matrix
grade 2: มีเลือดออกในโพรงสมองและขนาดของโพรงสมองปกติ
grade 3: มีเลือดออกในโพรงสมองและขนาดของโพรงสมองใหญ่ขึ้น
grade4: มีเลือดออกในโพรงสมองร่วมกับเลือดออกในสมอง
Retinopathy of Prematurity(ROP)
ความผิดปกติในทารกในทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักน้อย
ลักษณะสำคัญ
การงอกผิดปกติของเส้นเลือดบริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตาที่มีเลือดไปเลี้ยงจอประสาทตาที่ขาดเลือด เริ่มต้นที่ขั้วประสาทตาไปยังบริเวณขอบด้านนอก หลอดเลือดจะเจริญจนถึงด้านnasal เมื่ออายุครรภ์ 36 สัปดาห์และถึงด้าน temporal เมื่ออายุครรภ์ 40 สัปดาห์
การวินิจฉัย
ตรวจครั้งแรกเมื่อทารกอายุ 4-6 สัปดาห์
ถ้าไม่พบการดำเนินของโรค ตรวจซ้ำทุก 4 สัปดาห์
ถ้าพบว่ามีการดำเนินของโรคอยู่ตรวจซ้ำทุกอาทิตย์
ถ้าพบ ROP ควรนัดมาตรวจซ้ำทุกๆ 1-2 สัปดาห์
ความรุนแรง
stage1 : Demarcation line between vascularized and avascular retina
Stage 2: Ridge between vascularized and avascular retina
Stage 3: Ridge with extraretinal fibrovascular
proliferation
Stage 4: Subtotal retinal detachment
extrafoveal detachment
foveal detachment
Stage 5: Total retinal detachment
การพยาบาล
1.ดูแลให้ทารกได้รับออกซิเจนเท่าที่จำเป็น
2.ในทารกที่ได้รับออกซิเจน ติดตามO2 saturation
อยู่ระหว่าง 88-92%
3.ดูแลให้ทารกได้รับยาวิตามินอีตามแผนการรักษา
4.ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจ screening ROP
5.ดูแลให้ทารกมีภาวะ ROP รุนแรงและอยู่ในเกณฑ์บ่งชี้ให้ได้รับการรักษาโดยใช้แสงเลเซอร์
Bronchopulmonary Dysplasia
โรคปอดเรื้อรัง มีการทำลายทางเดินหายใจขนาเล็ก
พบได้ในทารกคลอดก่อนกำหนดที่เป็น RDS หรือโรคที่ต้องการ O2 ความเข้มข้นสูงเกิน 60% และใช้เครื่องช่วยหายใจนานกว่า 24 ชม.
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วกว่าปกติ
หน้าอกบุ๋ม
O2 ในเลือดต่ำกว่าปกติ
CO2 ในเลือดคั่ง
ความดันในปอดสูงในรายที่รุนแรง
การวินิจฉัย
ประวัติ
อาการและอาการแสดง
ภาพถ่ายรังสีปอด
ระยะที่ 1 : ปอดขยายตัวไม่เต็มที่ มีจุดฝ้าขาวเล็กๆทั่วปอด
ระยะที่ 2 : มีฝ้าขาวทั่วปอด
ระยะที่ 3 : เข้าสู่ระยะเรื้อรัง เห็นก้อนในเนื้อปอด
ระยะที่ 4 :ระยะเรื้อรัง มีatelectasisและhyperaeration กระจายในปอด
การป้องกัน หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงแลัลดปัจจับเสี่ยง
การคลอดก่อนกำหนด
การให้ o2 ความเข้มข้นสูงเป็นเวลานาน
การใช้ความดันของเครื่องช่วยหายใจสูงเป็นเวลานาน
ให้สารต้านอนุมูลอิสระ
การรักษา
ตามสาเหตุ
ตามอาการ
3.ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
การสร้าง IgM ยังไม่สมบูรณ์ ได้รับ IgG จากมารดาขณะอยู่ในครรภ์น้อย
เม็ดเลือดขาวมีน้อย จึงทำหน้าที่ในการกำจัดเชื้อโรคไม่สมบูรณ์
ผิวหนังเปราะบาง
Sepsis
1.Early onset Sepsis
ติดเชื้อในระยะก่อน/ระหว่างการคลอด แสดงอาการภายใน 2-3 วัน แรกหลังคลอดภายใน 72 ชม.แรก
2.Late onset Sepsis
ติดเชื้อที่แสดงอาการ หลังคลอด 72 ชม.ถึง1เดือน
สาเหตุ
preterm
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดนานเกิน 18 ชั่วโมง
การคลอดล่าช้า
มารดามีการติดเชื้อ น้ำคร่ำมีกลิ่น
เชื้อGroup B streptococci
ทารกมีภาวะพร่องออกซิเจนในครรภ์
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติมารดาขณะตั้งครรภ์ ไข้ผื่น ต่อมน้ำเหลืองโต สัมผัสผู้ป่วยติดเชื้อ
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Culture 24-48 hr.(blood, UA, CSF, Sputum)
CBC , Plt count
ESR ดูการตกของเม็ดเลือดขาวของทารกไม่เกิน 2 mm/hr
CRP
CXR
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมตาม sensitivity
ส่วนมากให้Ampicillin iv กับ Gentamycin iv
ถ้าไม่ได้ผลนิยมเปลี่ยนเป็นกลุ่ม Cephalosporins iv
การพยาบาล
1.ประเมินภาวะติดเชื้อในรร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
3.ควบคุมอุณหภมิกายให้อยู่ในระดับปกติ
4.ดูแลความสะอาดร่างกายและสิ่งแวดล้อม
5.ติดตามผลทางห้องปฎิบัติการ
6.แยกทารก
หมายถึง
ทารกที อายุในช่วง 28 วันแรกของชีวิต
มีอัตราการเจ็บป่วยและอัตราการตายมากสุด
จำแนกประเภท
จําแนกตามน้ำหนักแรกเกิด
ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อย(low birth weight infant)
น้ำาหนักน้อยกว่า 2500 g.
แบ่งได้ 2 ประเภท
ทารกที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 1500 g.(very low birth weight)
ทารกที่มีน้ำหนักตัวกว่า 1000 g.(extreme low birth weight)
2.ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักปกติ(normal birth weight infant)
น้ำหนัก 2500 - 4000 g.
จําแนกตามอายุครรภ์
1.ทารกคลอดก่อนกําหนด(preterm infant)
37 wk. / < 37 wk
สาเหตุ
มารดา
อายุ < 18 ปี> 35 ปี
โรคประจําตัว ex.เบาหวานความดันหัวใจ
ประวัติคลอดก่อนกําหนด
มดลูกขยายตัวเกินไป
ติดเชื้อในร่างกาย
ดื่มสุราสูบบุหรีเสพยา
ทารกในครรภ์
โครโมโซมผิดปกติ
ติดเชื้อ
ลักษณะ
น้าหนักน้อยรูปร่างแขน-ขาเล็กศีรษะใหญ่เมื่อเทียบกับลําตัว
เปลือกตาบวม & นูนออกมาตามักปวดตลอดเวลา
การเจริญของกระดูกหูมีน้อย
ผิวหนังบางแดงเหียวย่น , (Vernix Caseosa),มีกล้ามเนื2อและไขมันใต้ผิวหนังน้อย,ความตึงตัวกล้ามเนื้อไม่ดี
Lanugo hair
กล้ามเนื้อระหว่างซีโครงยังเจริญไม่ดี
periodic breathing , Apnea
reflex น้อย
ท้องป่องกล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
อวัยวะเพศค่อนข้างเล็ก
2.ทารกแรกเกิดครบกําหนด(term or mature infant)
37 wk - 41 wk
3.ทารกแรกเกิดเกินกําหนด(post term infant)
41 wk
การควบคุมอุณภูมิของร่างกาย
ทารกแรกเกิดไวต่ออุณหภูมิสิงแวดล้อมเปลี่ยนแปลง
การสูญเสียความร้อนในทารกแรกเกิด
การนํา Conduction
ผิวทารกสัมผัสกับวัตถุทีเย็น
การพา Convection
พาความร้อนจากทารกสู่ส่วนที่เย็นกว่า
การแผ่รังสี Radiation
สูญเสียความร้อนไปสู่ทีเย็นกว่าแต่ไม่สัมผัสวัตถุโดยตรง
การระเหย evaporation
การสูญเสียความร้อนเมื่อของเหลวเปลี่ยนไปเป็นไอน้ำ
การวัดอุณหภูมิ
ทางทวารหนัก
เกิดก่อนกําหนด 3 นาทีลึก 2.5 cm.
ครบกําหนด 3 นาทีลึก 3 cm.
ทางรักแร้
ก่อนกําหนด 5 นาที
ครบกําหนด 3 นาที
ภาวะอุณภูมิกายต่ำ (Hypothermia)
อุณภูมิต่ากว่า 36.5
อาการเริมแรก
มือเท้าเย็นตัวซีด
ผิวหนังลายจากเส้นเลือดขยายตัว
ดูดนมช้า / ดูดนมน้อยลง / ไม่ดูดนม
อาเจียนท้องอืดน้ำหนักไม่ขึ้น/น้ำหนักลด
ภาวะอุณหภูมิกายสูง (Hyperthermia)
อุณหภูมิสูงกว่า 37.5
อาจเกิดการติดเชือ / อยู่ในส่วนที่ร้อนเ้กิน
อาการเริมแรก
หงุดหงิดเมื่อร้อนขึ้น
เคลื่อนไหวลดลง
หายใจเร็วแรง / หยุดหายใจ
ซึมเมื่อสัมผัสผิวหนังจะรู้สึกอุ่นกว่าปกติ
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
NTE 32 - 34 องศาเซลเซียส
Body tem. 36.8 -37.2
Keep warm ระวัง Cold stres
เป้าหมาย
ให้อุณหภูมิทารกอยู่ในเกณฑ์ปกติ
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิด้วยมือ
ปรับอุณภูมิตู้อบเริมที 36 องศาเซลเซียส
ปรับเพิมขึ2นครั2งละ 0.2 องศาเซลเซียส (max 38.0)
ติดตามอุณหภูมิกายทุก 15 - 30 นาที
ถ้าวัดได้ 36.8 - 37.2 2 ครั2งติดปรับ tem ตู้อบให้เป็น NTE แล้ววัดใหม่ทุกๆ 15 - 30 นาทีอีก2 ครั้งและต่อไปทุก 4 ชม
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณภูมิอัตโนมัติ
ติด skin probe บริเวณหน้าท้องเลี่ยงบริเวณตับและ bony prominence
ปรับอุณภูมิตู้อบเริมที 36.5 องศาเซลเซียส
ปรับอุณหภูมิเพิมขึ้นครั้งละ 0.1 (max38.0)
ติดตามอุณหภูมิกายทุก 15 - 30 นาที
ถ้าวัดได้ 36.8 - 37.2 2 ครั้งติดปรับ temตู้อบให้เป็น NTE แล้ววัดใหม่ทุกๆ 15 - 30นาทีอีก 2 ครั2งและต่อไปทุก 4 ชม
4.ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis(NEC)
ภาวะลำไส้เน่าอักเสบ
เนื้อเยื่อของระบบทางเดินอาหารตตายจากการอักเสบจนขาดเลือด
มักเกิดบริเวณลำไส้ใหญ่และลำไส้เล็ก
สาเหตุ
การใช้ยาของมารดาขณะตั้งครรรภ์
การคลอดก่อนกำหนด
การเริ่มรับนมและเพิ่มปริมาณนมเร็ว
ภาวะขาดออกซิเจน
ปัจจัยเสื่ยง
มารดาใช้สารเสพติดระหว่างตั้งครรภ์
การติดเชื้อแบคที่เรียในกระแสเลือด
การเติบโตช้าในครรภ์
ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ทารกเกิดภาวะเลือดข้น
น้ำหนักตัวทารกน้อยกว่า2000กรัม
การให้นมผสมที่เข้มข้นสูงผ่านทางเดินอาหาร
การใส่สายสวยหลอดเลือดทางสะดือ
อาการ
เซื่องซึม
ดูดนมไม่ดี
ตัวเหลือง
ร้องกวน
อุณหภูมิกายต่ำ
หยุดหายใจ
หัวใจเต้นช้า
มีภาวะกรดเกิน
โซเดียมและออกซิเจนต่ำ
อาการเฉพาะ
ท้องอืด
ถ่ายอุจจาระเหลว
อาเจียนเป็นสีน้ำดี
มีเลือดออกทางเดินอาหาร
มีอาหารเหลือค้างในกระเพาะ
อาจมีเยื่อบุช้องท้องอักเสบ
การวินิฉัย
ตรวจเอกซเรย์ช่องท้อง
ตรวจเอกซเรย์ด้านข้าง
การตรวจช่องท้องด้วนคลื่นเสียงความถี่สูง
การเพาะตัวอย่างเลือด
การรักษา
การระงับสิ่งกระตุ้นทำให้เกิดการอักเสบ ผ่านการพักใช้ทางเดินอาหาร
ยาปฎิชีวนะชนิดสเปกตรัมกว้าง การระงับการติดเชื้อตามระบบต่างๆของร่างกาย
การพยุงระบบไหลเวียน ด้วยสารน้ำ สาอาหารทางหลอดเลือด
ให้ยากลุ่มกระตุ้นความดันโลหิต
การเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
วิธีการรักษาภาวะลำไส้เน่าอักเสบโดยการผ่าตัด
1.การผ่าตัดแบบเปิดสำรวจช่องท้อง
2.การใส่ท่อระบายช่องท้อง
Hypoglycemia
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
หมายถึง
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 40 mg% (term)
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำลง 35 mg% (preterm)
อาการแสดง
ซึม
ไม่ดูดนม
มีสะดุ้งผวา
อาการสั่น
ซีดหรือเขียว
หยุดหายใจ
ตัวอ่อนปวกเปียก
อุณหภูมิกายต่ำ
ชักกระตุก
สาเหตุ
การไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จำกัด
การสร้างกลูโคสได้น้อย
มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด
การดูแล
ทารกที่มีอาการร่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า40 มก./ดล.
ทารกไม่มีอาการ
กรณีที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำ ตรวจติดตามทุก 30 นาที
ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
Meconium aspiration syndrome(MAS)
ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อแรกเกิด vigorous ได้จากการประเมินทารก
มารกที่ไม่ตื่นตัวเมื่อแรกเกิดเสี่ยงต่อการสูดสำลักขี้เทาและมักต้องการการกู้ชีพ โดบเฉพาะการช่วยการหายใจด้วยแรงดันบวก
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
1.อายุครรภ์มากกว่า 42 wks ส่งผลให้รกเสื่อมสภาพ
2.ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
3.มารดามีภาวะรกเกาะต่ำหรือรกลอดตัวก่อนกำหนด
4.มารดามีภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
5.มีภาวะถุงน้ำคร่ำอักเสบ น้ำคร่ำรั่วนานกว่า 18 ชม
6.ประวัติใช้สารเสพติด ส่งผลให้มีหารหอรัดตัวของมดลูก
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีภาวะเครียด
มีการคลายตัวของหูรูดลำไส้ของทารก
ทารกมีการถ่ายขี้เทาปนในน้ำคร่ำมารดา
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงน้อย ทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสั้นๆเพียง 24-72ชม
อาการรุนแรงปานกลาง อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของช่องซี่โครง
อาการรุนแรงมาก ทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทันที
การวินิจฉัย
1.อาการแสดง:
หายใจลำบาก ทรวงอกโป่ง
ตรวจร่างกาย:
น้ำคร่ำมีตะกอนขี้เทา ร่างการทารกมีขี้เทาติด ฟังเสียงปออดไม่ได้ยิน
ภาพถ่ายรังสี
alveolar infiltration hyperaeration atelectasis
ABG:
มีภาวะเลือดเป็นกรด มีคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง มีภาวะพร่องออกซิเจน
แนวทางการรักษา
1.ให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ
2.พิจารณาให้ยาตามอาการของทารก เพื่อให้ทารกพักผ่อน ลดการใช้ออกซิเจนในร่างกาย
3.พิจารณาใช้ยาเพื่อขยายหลอดเลือดในปอด
4.ให้ยาปฎิชีวนะ
5.เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ
การพยาบาล
ให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน
วัดความดันโลหิตทุก 2-4 ชม. เฝ้าระวังการเกิดความดันต่ำ
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
เพื่อให้ทารกมีพฤติกรรมทางระบบประสาทที่เหมาะสม
ระบบการไหลเวียนโลหิต
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกินPatent Ductus Arteriosu
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็ว
หอบเหนื่อย
รับนมได้น้อย
ท้องอืด
น้ำาหนักไม่ขึ้น
การรักษา
1.รักษาทั่วไปให้ยาควบคุมอาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
2.การรักษาจําเพาะ
ใช้ยาเพือช่วยยับยั้งการสร้างprostagland
indomethacin
ibuprofen
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิดHyperbilirubinemia
ระดับ Bilirubin ในเลือดสูงจะทําให้เข้าไปจับกับเนื้อสมองด้านในทําให้เกิดอาการผิดปกติทางสมองเรียกว่าKernicterus
1.ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะPhysiological jaundice
มีการสร้าง bilirubin มากเพราะ RBCอายุสั้นกว่าและความไม่สมบูรณ์ในการทํางานของตับ
ทําให้กระบวนการขับ bilirubin ออกทําได้ช้า
พบใน 2 - 4 วันหลังคลอดและหายไปเองใน 1 - 2 สัปดาห์
2.ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะPathological jaundice
ทารกมี bilirubin ในเลือดสูงมากกว่าปกติและเหลืองเร็วภายใน 24 hr.แรกหลังคลอด
สาเหตุ
1.มีการสร้าง bilirubin เพิมขึ2นกว่าปกติจากภาวะต่างๆที มีการทําลายเม็เลือดแดง
2.มีการดูดซึม bilirubin จากลําไส้มากขึ2นจากภาวะต่างๆ
3.มีการกําจัด bilirubin ได้น้อยลงจากท่อน้ำดีอุดตันการขาดเอนไซม์บางชนิดตั้งแต่กําเนิด
4.สร้าง Bilirubin เพิมขึ้นแต่กําจัดได้น้อยลงเช่นการติดเชื้อ
5.มีการดูดซึม bilirubin จากลําไส้มากขึ้นจากภาวะทีเกียวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ไดดจากได้รับน้ำนมช้าไม่เพียงพอการกําจัดขี2เทาช้าทําให้มีการดูดกลับของbilirubin พบในทารก 4 - 7 วัน
อาการ
ระยะแรก
ซึมดูดนมน้อยลง
ตัวอ่อนปวกเปียกเกร็งหลังแอ่น
ชัดมีไข้
ระยะยาว
มีการเคลือนไหวผิดปกติของร่างกายและแขนขา
ความผิดปกติของการได้ยินและการเคลือนไหวของลูกตา
พัฒนาการช้าระดับสติปัญญาลดลง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ตรวจ LAB
การรักษา
1.การส่องไฟ phototherapy
ภาวะแทรกซ้อน
increases metabolic rate
increased water loss / dehydration
diarrhea
retinal damage
1 more item...
การพยาบาล
ปิดตาทารกด้วย eye patchesเพื่อป้องกันการระคายเคืองของแสงต่อตา
เช็ดทําความสะอาดตาทารกทุกวัน
ปิดตาทารกทุก 4 ชมปลี่ยนผ้าปิดตาทุก 8 - 12 ชม
ขณะให้นมต้องเปิดตาทารกเพื่อให้ได้สบตากับมารดา
ถอดเสื้อผ้าทารกออกจัดท่านอนหงาย/นอนคว่ำและเปลียนท่าทุก 2 - 4 ชม
ดูแลให้ทารกนอนอยู่บริเวณตรงกลางของแสงหลอดไฟห่างประมาณ 35 - 50 ซม
บันทึกและรายงาน V/S ทุก 1 ชม
สังเกตลักษณะอุจจาระบันทึกลักษณะและจํานวนเพื อประเมินภาวะการสูญเสียน้ำ
ตรวจเลือดหาระดับ Bilirubin ทุก 12 ชม
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
2.การเปลียนถ่ายเลือด exchange transfusion
อธิบายให้บิดา-มารดาทราบ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้้นคืนชีพให้พร้อม
ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
บันทึกปริมาณเลือดเข้า-ออกและ V/S
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
1 more item...
Respiratory Distress Syndrome(RDS)
กลุ่มภาวะหายใจลําบาก
ปัจจัยเสี่ยง
มารดามีเลือดออกทางช่องคลอดก่อนกําหนด
ทารกมีภาวะ Hypothermia , Perinatal asphyxia
มารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ครรภ์ก่อนบุตรมีภาวะ RDS
สาเหตุ
เกิดจากการขาดสารลดแนงตึงผิวที ผิวของถุงลม
ครงสร้างของปอดมีพัฒนาการไม่เต็มที
การป้องกัน
1.มารดาที่คลอดก่อนกําหนดแต่ยังไม่ MR ควรได้antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชม
Betamethazone 12 mg ทาง muscleทุก 24 hr. จนครบ 2 ครั้ง
Dexamethazone 6 mg ทางกล้ามเนื2อทุก 12 hr. จนครบ 2 ครั้ง
อาการและอาการแสด
ระบบไหลเวียนโลหิต
tachypnea / dypsnea
หายใจหน้าท้องและหน้าอกไม่สัมพันธ์กัน
expiratory grunting
ซีด BP drop
ระบบทรวงอก
retraction
ระบบทางเดินอาหาร
ดนมไม่ดีอาเจียนท้องอืด
เมตาบอลิซึม
Hypoglecemia , acidosis
ระบบผิวหนัง
ตัวลายผิวหนังเย็นตัวเหลืองมีจุดเลือดออก
ระบบประสาท
ซึม ,กระสับกระส่าย, Reflex ลดลง,กระหม่อมโปร่งตึง
การรักษา
ให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารกและระวังภาวะแทรกซ้อนขณะให้ออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทําให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้นลดความรุนแรงของภาวะหายใจลําบาก
Perinatal asphyxia
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
ประกอบด้วย
hypoxemia
hypercapnia
เลือดเป็นกรด
สาเหตุ
ปัจจัยเกียวข้องกับการคลอด
คลอดติดไหล่ / ศีรษะไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกราน
สายสะดือผิดปกติ,การคลอดโดยหัตถการที่ลําบาก
ปัจจัยเกี ยวข้องกับมารดา
ตกเลือด , อายุมาก , เบาหวาน ,รกเกาะต่ำ
ครรภ์เป็นพิษ, BP drop
ปัจจัยเกี่ยวข้องกับทารก
คลอดก่อนกําหนด,เจริญเติบโตช้าในครรภ์
ติดเชื้อในครรภ์ , พิการโดยกําเนิด
ผลของการขาดออกซิเจนตอนแรกคลอด
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจเต้นช้าลงอาจวายได้ , ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท
ระบบทางเดินอาหาร
Bilirubin ในเลือดสูง
ระบบหายใจ
ถูกกดการหายใจหายใจช้า / ไม่หายใจ
ปอดคั่งน้ำ
ระบบการขับถ่าย
เนื้อไตเกิดตายเฉียบพลันทําให้ปัสสาวะอาจเป็นเลือด / ไม่ปัสสาวะ/ปัสสาวะลดลง
ระบบประสาทกลาง
เลือดออกในสมองได้
ชักจาก cortex ของสมองถูกทําลาย
สมองบวม
การรักษาประคับประคองและตามอาการ
1.สังเกตอาการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื อง
2.ให้ความอบอุ่นให้อุณหภูมิทารกปกติ
3.ให้ออกซิเจนที เหมาะสม
4.งดอาหารทางปากให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํำ
5ให้เลือด.ถ้าความเข้มข้นของเลือดต่ำหรือเสียเลือด
6.หลัง 12 ชมระวังอาการชัก
7.พิจราณาให้ยาปฏิชีวนะ
8.ระวังภาวะแทรกซ้อน