Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด ที่มีความเสี่ยงสูง, บุศกร ชุ่มจิตร เลขที่42…
การพยาบาลทารกแรกเกิด
ที่มีความเสี่ยงสูง
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
(Hypothermia)
อุณหภูมิกายต่ำกว่า 36.5 องศาเซลเซียสแต่ทารกแรกเกิดอาจมีอาการผิดปกติตั้งแต่อุณหภูมิกาย
ต่ำกว่า 36.8 องศาเซลเซียส
อาการ
มือเท้าเย็น ตัวซีด ผิวหนังลายจากเส้นเลือดขยายตัวซึม ดูดนมช้า คุดนมน้อยลง หรือไม่ดูดนม อาเจียน ท้องอืด น้ำหนักไม่ขึ้นหรือน้ำหนักลด เป็นต้น
ภาวะอุณหภูมิกายสูง
(Hyperthermia)
อุณหภูมิกายสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส
อาจเกิดจากการติดเชื้อ การอยู่ในอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมที่ร้อนเกินไป
อาการ
จะหงุดหงิดเมื่อร้อนขึ้น มีการเคลื่อนไหวลดลง
หายใจเร็วและแรง หรือหยุดหายใจ ซึม สัมผัสผิวหนังพบว่าอุ่นกว่าปกติ
การดูแล
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศาเซลเซียส
วัดอุณหภูมิ Body temperalure ทารก 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
keep warm (warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว)
ระวัง "Cold stress"
ปรับอุณหภูมิห้องให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม (25-26 องศาเซลเซียส)
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก 4 ทาง
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม.และปรับให้เหมาะสมกับสภาพของทารก
การควบคุมอุณหภูมิกายทารกที่อยู่ในตู้อบ
เป้าหมายให้อุณหภูมิกายทารกอยู่ในเกณฑ์ปกติคือ 36.8- 37.2 องศาเซลเซียสกรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิด้วยมือ หรือ ปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ (Air Servocontrol mode)
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่ 36 องศาเซลเซียส
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่มขึ้นครั้งละ 0.2 องศาเซลเซียส (max 38.0 องศาเซลเซียส )
ติดตามอุณหภูมิกายทุก 15 - 30 นาที
ถ้าวัดอุณหภูมิกายได้ 36.8 -37.2 องศาเซลเซียส 2 ครั้งติดกัน ให้ปรับอุณหภูมิตู้อบตาม Neutral thermal environment (NTE) แล้วติดตามอุณหภูมิกายต่อทุก 15 -30 นาทีอีก 2 ครั้งและต่อไปทุก 4 ชม.
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ (Skin Servocontrol mode)
ติด Skin probe บริเวณหน้าท้อง โดยหลีกเลี่ยงบริเวณตับและ bony prominence ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่ 36.5 องศาเซลเซียส
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่มขึ้นครั้งละ 0.1 องศาเซลเซียส (max 38.0 องศาเซลเซียส )
ติดตามอุณหภูมิกายทุก 15 - 30 นาที (max 38.0 องศาเซลเซียส )
ถ้าวัดอุณหภูมิกายได้ 36.8 -37.2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ครั้งติดกัน ให้ปรับอุณหภูมิตู้อบตาม Neutral thermal environment (NTE) แล้วติดตามอุณหภูมิกายต่อทุก 15 -30 นาที อีก 2 ครั้งและต่อไปทุก 4 ชม.
ระบบการไหลเวียนโลหิต
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกิน
(Patent Ductus Arteriosus)
อาการและอาการแสดง
• หายใจเร็ว
• หอบเหนื่อย
• รับนมได้น้อย
น้ำหลักไม่ขึ้น
ท้องอืด
การรักษา
การรักษาทั่วไป ให้ยาควบคุม
อาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
การรักษาจำเพาะ
โดยใช้ยา เพื่อช่วยยับยั้งการสร้ง prostaglandin
การผ่าตัด PDA ligation
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
(Hyperbilirubinemia)
อาการ
อาการระยะแรก : ซึม ดูดนมน้อยลง ตัวอ่อนปวกเปียก เกร็งหลังแอ่น ชัก มีไข้
อาการระยะยาว: มีการเคลื่อนไหวผิดปกติของร่างกายและแขนขามีความผิดปกติของการ ได้ยินและการเคลื่อนไหวลูกตาพัฒนาการช้า ระดับสติปัญญาลดลง
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
ระบบการหายใจ
Respiratory Distress Syndrome
(RDS)
อาการและอาการแสดงอาการ
อาการและอาการแสดงอาการ เกิดภายใน 4-6 ชั่วโมงหลังคลอด รุนแรงมากขึ้นภายใน24-36 ชั่วโมง
ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบทางเดินหายใจ:
หายใจเร็ว (tachypnea) มากกว่า 60 ครั้ง / นาทีหรือหายใจลำบาก (dyspnea)
หายใจ หน้าอกและหน้าท้องไม่สัมพันธ์กัน
เสียงหายใจผิดปกติมีการกลั้นหายใจขณะหายใจออก (expiratory grunting)- ซีด- BP ต่ำ
2.ระบบทรวงอก: หน้าอกปุ่ม (retraction) บริเวณ Intercostal, Subcostal และSubsternal retractionจากการหดตัวอย่างแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจ
3.ระบบทางเดินอาหาร: ดูดนมไม่ดี อาเจียน ท้องอืด
ระบบประสาท: ซึม กระสับกระส่าย reflex ลดลง กระหม่อมโปร่งตึง
ระบบผิวหนัง: ตัวลาย ผิวหนังเย็น ตัวเหลือง มีจุดเลือดออก
เมตาบอลิซึม: Hypoglycemia ภาวะ acidosis
การรักษา
การให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารก เช่น การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน โดยการปรับลดความเข้มข้นและอัตราไหลของออกซิเจนภาวะแทรกซ้อนจากการ ได้รับออกซิเจน เช่น ภาวะปอดอุดกั้นเรื้อรัง (BPD)ภาวะจอประสาทตาพิการจากการเกิดก่อนกำหนด (ROP)
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้นลดความรุนแรงของภาวะหายใจลำบาก
Perinatal asphyxia
สาเหตุ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอด ได้แก่ ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกรานมารดาคลอดติดไหล่ความผิดปกติของสายสะดือ กรรภ์แฝด ทารกท่าผิดปกติ การคลอดโดยใช้หัตถการการคลอดที่ทำยากลำบาก
ปัจจัยทางค้านมารดา ได้แก่ ตกเลือด อายุมาก เบาหวานรกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด ภาวะพิษแห่งครรภ์ความดันเลือดต่ำ ครรภ์เกินกำหนด ซีดมาก ได้รับยาแก้ปวด
ปัจจัยเกี่ยวกับทารก ได้ก่ ทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ภาวะติดเชื้อในครรภ์ความพิการโดยกำเนิด
เป็นภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
การรักษา
การสังเกตอาการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
ให้ความอบอุ่นและควบคุมทารถให้อุณหภูมิปกติ
ให้ออกซิเจนที่เหมาะสม
งดอาหารทางปากชั่วคราว ให้สารน้ำและอาหารทางหลอดเลือด
ให้เลือด ถ้าความเข้มข้นของเลือดต่ำหรือเสียเลือด
หลังจาก 12 ชั่วโมง ให้ระวังอาการชัก
พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะ
ระมัดระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
Apnea of prematurity
(AOP)
ภาวะหยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที ร่วมกับมี Cyanosis
central apneaภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลมและไม่มีอากาศไหลผ่านรูจมูกโดยมีสาเหตุมาจากศูนย์การหายใจที่บริเวณก้านสมองทำงานได้ไม่ดี
obstruction apneaภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลม แต่ไม่มีอากาศไหลผ่านรูจมูกเกิดจากการงอหรือการเหยียดลำคอเกิน ทำให้ช่องภายในหลอดคอ ไม่เปิดกว้าง เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
การดูแลระบบหายใจ
จัดท่านอนที่เหมาะสม
สังเกตอาการพร่องออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็น
ระวังการสำลัก
ภาวะแทรกซ้อนจากการ
ได้รับออกซิเจน
เลือดออกในช่องสมอง (Intraventricular hermorrhage: IVH)
ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Bronchopulmonary Dysplasia: BPD)
โรคปอดเรื้อรัง
จอประสาทตาผิดปกติ (Retinopathy of Prematurity :ROP)
เป็นความผิดปกติในทารกในทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักน้อย
ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis
(NEC)
อาการ
เชื่องซึม (lethargy) ดูดนมไม่ดี ตัวเหลือง ร้องกวนอุณหภูมิกายต่ำ หยุดหายใจ หัวใจเต้นช้า มีภาวะกรดเกินโซเดียมต่ำและออกซิเจนต่ำ
อาการเฉพาะ
ท้องอืด
ถ่ายอุจาระเหลว
คาเจียนเป็นสีน้ำดี
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
มีอาหารเหลือค้างในกระเพาะอาหาร
อาจมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
การรักษา
การระงับสิ่งกระตุ้นทำให้เกิดการอักเสบ ผ่านการพักการใช้ทางเดินอาหาร (NPO)
ยาปฏิชีวนะชนิดสเปกตรัมกว้าง การระงับการติดเชื้อตามระบบต่างๆ ของร่างกาย
การพยุงระบบไหลเวียน ด้วยการให้สารน้ำ สารอาหารทางหลอดเลือด
ให้ยากลุ่มกระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
การฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ได้แก่ สัญญาณชีพ ปริมาณปัสสาวะ การแข็งตัวของเลือด การ เปลี่ยนแปลงของพยาธิสภาพในทางเดินอาหาร
รักษาภาวะลำใส้เน่าอักเสบโดยการผ่าตัด
แบ่งออกได้ 2 วิธี
1.การผ่าตัดแบบเปิดสำรวจช่องท้อง
2.การใส่ท่อระบายช่องท้อง
Meconium aspiration syndrome
(MAS)
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงน้อย ทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสั้นๆ เพียง 24-72 ชั่วโมง ทำให้แรงดันลดลง และมีค่าความเป็นกรด-ด่างปกติอาการมักหายไปใน 24-72 ชั่วโมง
อาการรุนแรงปานกลาง อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของช่องซี่ โกรงและมีความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24 ชั่วโมง
อาการรุนแรงมาก ทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
การรักษา
ให้ทารกได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
พิจารณาให้ขาตามอาการของทารก เพื่อให้ทารกพักผ่อน ลดการใช้ออกซิเจนในร่างกาย(กลุ่ม opioids, กลุ่ม muscle relaxants )
พิจารณาใช้ยาเพื่อขยายหลอดเลือดในปอด กรณีมีภาวะความดันในปอดสูง
ให้ยาปฏิชีวนะ ในกรณีมีภาวะหายใจล้มเหลว เพื่อลดการอักเสบเนื้อเยื่อปอด
(ฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ (ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดและภาวะความดันใน
ปอดสูง)
ระบบประสาท
พัฒนาการพฤติกรรมทางระบบประสาท
เพื่อให้ทารถมีพฤติกรรมทาง
ระบบประสาทที่เหมาะสมเนื่องจาก
ช่วงเวลาที่อยู่ในครรภ์มารดาซึ่งมีความเหมาะสมต่อพัฒนาการด้านต่าง ๆ มีน้อย
ความเจ็บป่วยของทารกทำให้ได้รับการรักษาที่ส่งผลต่อพัฒนาการ เช่น อยู่ในตู้อบเปิดเผยร่างกาย จับต้องมากเกินจำเป็น เจ็บปวดจากการตรวจรักษา
สิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วยไม่เหมาะสม เช่น แสง เสียง ที่มากเกินไป
ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
Sepsis
อาการและอาการแสดง
ในทารกไม่จำเพาะเจาะจง
อาจตรวจพบความผิดปกติในระบบต่างๆ
ซึม
ร้องนาน
ไม่ดูดนม
ซีด
ตัวลายเป็นจ้ำ (motting)
ผิวหนังเย็น
หายใจเร็ว หายใจลำบาก
ท้องอืด อาเจียน
สั่น ชัก
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมตาม sensitivity
ส่วนมากให้ Ampicillin iv กัu Gentamycin iv
ถ้าไม่ได้ผลนิยมเปลี่ยนเป็น กลุ่ม Cephalosporins iv
บุศกร ชุ่มจิตร เลขที่42 62111301044