Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สัมมนาแบบ Group discussion - Coggle Diagram
สัมมนาแบบ Group discussion
ความหมาย
เป็นการอภิปรายที่ใช้คนไม่จำกัดจำนวนผู้อภิปรายจะเป็นทั้งผู้พูดและผลัดกันเป็นผู้ฟัง เพราะการอภิปรายแบบนี้จะไม่มีผู้ฟัง ผู้อภิปรายจะมีจ านวนไม่เกิน 20 คน การอภิปรายแบบนี้มักใช้กันมากในวงการศึกษาหรือหน่วยราชการโดยทั่วไป
วิธีการดำเนินงาน
แต่ละกลุ่มควรดำเนินการอภิปรายให้จบภายในเวลาที่กำหนด
เลขานุการเป็นผู้บันทึกการอภิปราย
ควรจัดสถานที่ให้อยู่ในบริเวณที่สามารถติดตามได้ง่ายและทั่วถึงทุกกลุ่ม
ควรจัดที่นั่งแบบโต๊ะกลมหรือโต๊ะเหลี่ยม จะได้เห็นหน้าตากันได้ทุกคน
ตัวแทนกลุ่มออกไปนำเสนอผลงาน ในที่ประชุมใหญ่
กำหนดหัวข้อเรื่องเหมือนกันทุกกลุ่ม หรือกลุ่มละหัวข้อเรื่องก็ได้
ผู้นำอภิปรายสรุปรายงานผลของแต่ละกลุ่ม
แบ่งกลุ่มสมาชิกออกเป็นกลุ่มๆ ละ 5-8 คน โดยเลือกประธานและเลขานุการทุกกลุ่ม
ข้อเสีย
ไม่เหมาะกับการนำไปใช้กับกลุ่มสมาชิกที่มีจำนวนเกินกว่านี้
ต้องมีเวลาเพียงพอ เพื่อให้สมาชิกแต่ละกลุ่มได้นำเสนอผลงาน
อาจมีเสียงดังรบกวนกัน เพราะมีหลายกลุ่มและอยู่ภายในบริเวณเดียวกัน
ข้อดี
ได้รับความรู้และประสบการณ์หลากหลายจากแต่ละกลุ่ม
เหมาะกับการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ประหยัดเวลา
ทุกคนมีโอกานแสดงความคิดเห็น
มีข้อเสนอแนะและแนวทาง ให้เลือกนำไปใช้ได้หลายทาง
อ้างอิง
_ . (2020). สัมนาทางสารสนเทศศึกษา, สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2564. จาก
http://www.elfhs.ssru.ac.th/
รายวิชา สัมนาทางสารสนเทศศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ประโยชน์
สามารถนำการสัมมนาแบบ Group discussion ไปใช้ได้ถูกต้องตามความเหมาะสมในการสัมมนา