Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้สูงอายุเพศชาย อายุ 73 ปี U/D : DM DLP HT :star: - Coggle Diagram
ผู้สูงอายุเพศชาย อายุ 73 ปี
U/D : DM DLP HT
:star:
11 Gordon :<3:
แบบแผนที่ 1 รับรู้-ดูแลสุขภาพ
รู้ว่าไม่สบาย ไปรับที่รพ
แพ้ฝุ่น แพ้เหงื่อ(ตุ่ม,คัน) แพ้อาหารทะเล
สูบบุหรี่วันละ 1 ซอง
ไม่ดื่มสุรา
เจ็บป่วยจะกินยาเอง
ถ้าหนักมากจะแจ้งพี่เลี้ยง
แบบแผนที่ 2 อาหาร-เผาผลาญ
กินโจ๊กเป็นประจำ กินได้ ¾ ของอาหาร กินหมดบางวัน
เบื่ออาหาร อยากกินได้เหมือนคนอื่น
กินแตงโม ส้ม ชมพู่ สับปะรด
ไม่มีฟัน
ไม่ชอบกินผัก
น้ำหนัก 65 kg,สูง 170 cm, BMI 22.49 kg/m2 ปกติ
MNA 17 คะแนน
เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร
เหงือกชมพูคล้ำไม่บวม ไม่มีแผลที่เหงือกเพดานปาก กระพุ้งแก้ม หน้าท้องไม่มีรอยโรค/ผ่าตัด กดไม่เจ็บ คลำไม่พบก้อน
bowel sound 3-5 ครั้ง/นาที
ไม่มี N/V หลังกินข้าว, ไม่มีปัญหาการกลืน
ุดื่มน้ำวันละ 1-3 ขวดเล็ก
ประมาณ 600- 1500 ml
แบบแผนที่ 3 ขับถ่าย
อุจจาระ 5 วัน/ครั้ง
ต้องออกเเรงเบ่ง
ปัสสาวะ 2-3 ครั้ง/วัน
ไม่มีอาการแสบขัด ไม่บวม ไม่มีรอยโรค
ไม่มีภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
แบบแผนที่ 4 กิจกรรม-ออกกำลังกาย
ลุกจากที่นอนเอง ไม่มีการพึ่งพา
เดินได้เองไม่มีอุปกรณ์ช่วยเดิน ปฏิบัิติกิจวัตรประจำวันได้
ไม่ชอบออกกำลังกาย
ปวดเข่า ออกมากเหนื่อย
Barthel (ADL Index) 20 คะแนน ไม่มีภาวะพึ่งพา
ประเมินภาวะเสี่ยงหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน
8 คะแนน เสี่ยงต่อการหกล้ม
Motor power
แขนสองข้าง = 5 คะแนน ปกติ
ขาสองข้าง = 5 คะแนน ปกติ
รอบแขน 20 cm, รอบขา 26.3 cm
แบบแผนที่ 5 พักผ่อนนอนหลับ
ปกตินอนวันละ 6 hr
21.00-22.00 ถึง 05.00 น
มักตื่นมาปัสสาวะตอนกลางคืน
กว่าจะหลับต่อใช้เวลา 30-60 นาที
ไม่เคยทำสิ่งผ่อนคลายก่อนนอน
PSQI 8 คะแนน
คุณภาพนอนหลับไม่ดี
แบบแผนที่ 6 สติปัญญา-รับรู้
ได้ยินปกติ 2 ข้าง
Snellen chart ตาสองข้าง 3/9
แยกแยะสัมผัสแหลม/ทู่ได้ บอกตำแหน่งถูก
จำวันเกิดตนเองไม่ได้ ไม่รู้วันเดือนปีปัจจุบัน
MMSE 9 คะแนน มีภาวะสมองเสื่อม
IGDS 16 คะแนน มีภาวะซึ่มเศร้าเล็กน้อย
pain score 7
แบบแผนที่ 7 รับรู้ตนเอง-อัตมโนทัศน์
ตนเองสุขภาพดี เดินได้เอง ความจำดีกว่าคนอื่น
รู้สึกเบื่อ ไม่อยากทำอะไร
ไม่เครียด ไม่อยากมีปัญหากับใคร
ปวดเข่าเวลาเดิน,ขึ้นลงบันได
วิธีเผชิญปัญหา : อยู่เฉยๆปล่อยผ่านไป
แบบแผนที่ 8 บทบาท-สัมพันธภาพ
เป็นจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุที่ไม่สามารถทำกิจวัตรได้
ex. ป้อนข้าว แต่ไม่ค่อยได้ทำ
ไม่ค่อยยุ่ง ไม่ทะเลาะกับใคร เข้ากิจกรรมบางครั้ง
รำคาญคนพูดมาก
แบบแผนที่ 9 เพศสัมพันธ์
ไม่มี sex นานแล้ว
อวัยวะเพศไม่บวม แดง ไม่แสบขัด
แต่งตัวเหมาะกับเพศสภาพ
เสื้อแขนยาว
กางเกงขาสั้น
พฤติกรรมแสดงออกทางเพศเหมาะสม
ไม่เคยรับการรักษาต่อมลูกหมากโต
แบบแผนที่ 10 ปรับตัว
เผชิญความเครียด
ไม่ค่อยมีความเครียด เบื่อไม่มีอะไรทำ
รอลูกมาเยี่ยมลูกไม่ค่อยมา
เวลาเครียดจะปล่อยไว้เฉยๆ
บุคคลคอยช่วยเหลือ : ผู้ดูแลศูนย์ฯบ้านบางละมุง,เพื่อนสนิท
ST-5 6 คะแนน เครียดปานกลาง
แบบแผนที่ 11 ค่านิยม-ความเชื่อ
เคยร่วมสวดทนต์ที่ศูนย์ฯจัดขึ้น
ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์,ไหว้พระก่อนนอน
สวดมนต์ก่อนนอนให้หลับ
ข้อมูลทั่วไป
สัญชาติไทย เชื้อชาติไทย ศาสนาพุทธ
สถานภาพ หม้าย
การศึกษา ป4
อาชีพ - , รายได้ 700 บาท/เดือน
ภูมิลำเนา ร้อยเอ็ด
ที่อยู่ปัจจุบัน
ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบางละมุง
40 หมู่ 4 ถนนสุมุง อำเภอบางละมุง ชลบุรี 20150
U/D : DM DLP HT
NDx1
มีพฤติกรรมการดูแลตนเองไม่เหมาะสม เนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับความเสี่ยงของการสูบบุหรี่ :pencil2:
↑ อายุ
ผนังหลอดเลือดหนา
ทฤษฎีเชื่อมตามขวาง
ผนังหลอดเลือดยืดหยุ่น ↓
vasoconstriction,
อุดตันง่าย
เลือดหนืด
ประสิทธิภาพแลกเปลี่ยนก๊าซ ↓
↑CO2, ↓O2 ในเลือด
2 more items...
↑ ไขมัน,คาร์โบไฮเดรต
↑ นิโคติน,CO
↓ HDL Cholesterol
↑ LDL Cholesterol
++sympathetic
CA lung,GI,..
collagen ↑
elastin ↓
Ca+ไขมัน
U/D : DM, DLP,HT
เป้าประสงค์
มีความรู้เกี่ยวกับการ
ดูแลตนเองเหมาะสม
เกณฑ์
มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพการดูแลสุภาพที่เหมาะสม
ไม่สูบบุหรี่
กิจกรรมการพยาบาล
1 ประเมินความรู้ในการดูแลตนเอง
หลัก 5 A
Ask
สาเหตุสูบบุหรี่
เคยเลิกหรือไม่/วิธีใด
ผลของการเลิก/ไม่เลิก
Advise
Assess
Assist
Arrange
2 ให้ความรู้โทษบุหรี่
ระยะสั้น
รับรู้กลิ่น,สัมผัส ↓
แสบตา น้ำตาไหล
cilia ทำงาน ↓
↑ CO2, ↓ O2 ในเลือด
PR เร็ว, BP↑
↑ กรดในกระเพาะ
ปากเหม็น
ระยะยาว
โรคหัวใจ-หลอดเลือด
Stroke
โรคระบบทางเดินอาหาร
CA Esophageal
โรคกระเพาะอาหาร
ลำไส้อักเสบ
โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
CA kidney
เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคทางเดินระบบหายใจ
CA lung
COPD
3 แนะนำวิธีเลิกบุหรี่
ตัดใจ
เด็ดขาด,ทิ้งบุหรี่
เตรียมวัน
กำหนดวันเลิก < 2wk
เตรียมกำลังใจสนับสนุน
(เพื่อน/ครอบครัว)
ตั้งตัว
วิธีรับมือเมื่ออยากบุหรี่
ตั้งเป้าหมาย มุ่งมั่น ตั้งใจ
ออกกำลังกาย
อ่านหนังสือ
อาบน้ำ
Deep breathing
ดื่มน้ำมากๆ
4 ดื่มน้ำอย่างเพียงพอ วันละ 1,500 ml โดยเฉพาะน้ำอุ่นช่วยขับสารพิษ
5 ออกกำลังกาย
อย่างน้อยครั้งละ 30 min 5 day/wk
โยคะ,ไทเกก
กิจกรรมผู้ดูแล
เป็นกำลังใจให้
สนับสนุนออกกำลังกาย
คอยสังเกตพฤติกรรมอยากบุหรี่
สนับสนุนดื่มน้ำอย่างเพียงพอ
NDx 2
แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลงไป
เนื่องจากการลดลงของ melatonin&serotoninในสมอง :recycle:
↑ อายุ
Delta wave ↓
NREM ระยะ 3,4 ↓
หลับสนิท ↓
NREM ระยะ 1,2 ↑
ตื่นง่าย
สูบบุหรี่ ++ sym
serotonin ↓
เคมีความสุข
melatonin ↓
สารนอนหลับ
กระเพาะปัสสาวะเล็กลง
elastin tissue ↓
fibrous tissue ↑
ความจุ 150-300 ml (ปกติ 600)
ปวดปัสสาวะบ่อย
เป้าประสงค์
พักผ่อนนอนหลับเพียงพอ
เกณฑ์
นอนหลับอย่างน้อยวันละ 6 hr
ไม่มีง่วงหลังตื่นนอน/ระหว่างวัน
สีหน้าสดชื่นแจ่มใส
กิจกรรมพยาบาล
1 ประเมิน PSQI
2 ประเมินสีหน้า ท่าทาง การพูด
สอบถามอาการหลังตื่นนอน
สดชื่น,อ่อนเพลีย
3 แนะนำฝึกถ่ายปัสสาวะก่อนนอน/
จัดหากระบอกปัสสาวะไว้ในห้องนอน
4 แนะนำไม่ควรใช้เวลาพยายามหลับ > 20 นาที
แนะนำให้ทำกิจกรรมผ่อนคลาย
กิจกรรมผ่อนคลาย
นั่งสมาธิ
ฟังเพลง
สวดมนต์
deep breathing
5 แนะนำดื่มนมอุ่นก่อนนอน 2 hr
นมมี L –tryptophan ↑
↑ melatonin, serotonin
6 หลีกเลี่ยงนอนกลางวัน
หากนอนไม่เกิน 60 min
7 หลีกเลี่ยงสูบบุหรี่ก่อนนอน
บุหรี่ ↑sym
8 แนะนำรับแสงแดดช่วงหลัง 08.00/16.00 น
นอนหลับยาวขึ้น
9 ดูแลจัดสิ่งแวดล้อมห้องนอนให้สะอาด
ลดสิ่งกระตุ้น ex แสง เสียง กลิ่น
กิจกรรมผู้ดูแล
ปิดไฟห้องนอน
จัดเตรียมนมอุ่นให้ดื่มก่อนนอน 2 hr
ดูแลให้เข้าห้องน้ำก่อนนอนประจำ
พามารับแดดหลังช่วง 8.00/16.00 น
NDx 3
มีภาวะท้องผูก เนื่องจากการเคลื่อนไหวลำไส้ลดลง :smiley:
↑ อายุ
↓ ประสาทสัมผัสรับรส,กลิ่น
อยากอาหาร ↓
↓ กรดกระเพาะ
↓ สำไล้เคลื่อนไหว
กิน fiber ↓
ดื่มน้ำ ↓
เครียด
ท้องผูก
เป้าประสงค์
ลดภาวะท้องผูก
เกณฑ์
ไม่มีอาการท้องผูก
ex ถ่ายอุจจาระ < 3 ครั้ง/wk,เบ่งถ่าย,ก้อนแข็งสีดำ
bowel sound 6-12 bpm
กิจกรรมพยาบาล
1 ประเมินอาการท้องผูก+bowel sonud
2 นวดหน้าท้อง กระตุ้นลำไส้
3 ท่า
ท่า 1 ตามแนวเส้นตรง
ประสานมือ กดท้องลึก 1-2 นิ้ว
ตามแนว anatomy ลำไส้
ซ้ำ 5 รอบ
ท่า 2 โกยลำไส้
ประสานมือเป็นอุ้ง ใช้สันมือนวด
นวดจากกลางสะดอ → หัวหน่าว
ซ้ำ 10-15 ครั้ง
ท่า 3 โยกลำไส้
ประสานมือ
นวดด้านใกล้ตัวผู้นวด → ไกลตัวแล้วโกยกลับ
ซ้ำ 10-15 ครั้ง
3 แนะนำกินอาหารกากใยสูง
ต้ม/ปั่น/บด
ส้ม
กล้วยน้ำว้า
มะละกอสุก
ผักกาดขาว
ตำลึง
4 ดื่มน้ำให้เพียงพอ วันละ 1,500 ml
1แก้ว/hr
แนะนำน้ำอุ่นหลังตื่นนอน
5 ฝึกขับถ่ายเป็นเวลาสม่ำเสมอ
6 แนะนำนั่งขับถ่ายเอนตัวไปข้างหน้า 35 องศา
7 แนะนำออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ex โยคะ ไทเกก เดินเบาๆ
8 แนะนำนอนหลับให้เพียงพอ วันละ 6-7 hr
ทำจิตใจให้แจ่มใส ไม่เครียด
กิจกรรมผู้ดูแล
จัดเตรียมอาหารกากใยสูง
นวดหน้าท้อง กระตุ้นการขับถ่าย
กระตุ้นให้ดื่มน้ำเพียงพอ
ฝึกการขับถ่ายสม่ำเสมอ ไม่ควรให้นั่งส้วมนานกว่า 30 นาที
NDx 4
มีความจำลดลง
เนื่องจากมีภาวะสมองเสื่อม :<3:
↑ อายุ
↑ โปรตีน amyloid beta +
ใยประสาทสมองพันกัน
↓ serotonin receptors, acethylcoline, acethylcoline, choline
↓ ความจำ ความคิด
อารมณ์ บุคคลิก พฤติกรรม
O2+อาหาร
เลี้ยงสมอง ↓
สมองฝ่อ
สูบบุหรี่ นิโคติน+CO ↑
U/D : DLP,HT, DM
เป้าประสงค์
ป้องกันสมองเสื่อมเพิ่มขึ้น
เกณฑ์
MMSE ≥ 17 คะแนน/ไม่ลดลง
อาการสมองเสื่อมลดลง
ex สับสนวัน เวลา สถานที่
กิจกรรมพยาบาล
1 ประเมิน MMSE + อาการสมองเสื่อม
2 ให้ความรู้โรคสมองเสื่อม +
วิธีการดูแลตนเอง
4 แนะนำฝึกบริหารสมอง
ท่าจีบ L
ยกมือข้างหนึ่งท่าจีบ อีกข้างรูปตัว L
ทำสลับไปมา 10 ครั้ง
ท่าโป้ง-ก้อย
ข้างหนึ่งยกนิ้วโป้ง อีกข้างนิ้วก้อย
ทำสลับไปมา ๅจ ครั้ง
ท่าผ่อนคลาย
พนมมือเบาๆ
deep breathing
ทำ 5-10 นาที
5 แนะนำเล่นเกมฝึกความจำ
หมากรุก อักษรไขว้ คิดเลข
ฝึกจำวัน เวลา สถานที่ เบอร์โทร
6 แนะนำกินอาหารให้ครบ 5 หมู่
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง เน้นอาหารบำรุงสมอง
อาหารบำรุงสมอง
ผักใบเขียว
ปลาทะเล
vit C,E
3 แนะนำให้ติดนาฬิกาและปฏิทินที่มีตัวเลขขนาดใหญ่ มองเห็นได้ชัดเจน
กิจกรรมผู้ดูแล
ฝึกผู้สูงอายุบริหารสมอง
พาไปพบแพทย์ประจำทุกปี
ติดตามอาการสมองเสื่อม
NDx 5
เสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากรับประทานอาหารลดลง :warning:
↑ อายุ
olfactory nerve ฝ่อ
สูญเสียดมกลิ่น
ต่อมน้ำลายทำงาน ↓
ตัน/หลั่งน้อย
สูญเสียรับรส
ความอยากอาหาร ↓
ขาดสารอาหาร
เบื่ออาหาร
ปากแห้ง
กลืนลำบาก
ฟันหลุดร่วง
เป้าประสงค์
ส่งเสริมให้ได้รับสารอาหารเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
เกณฑ์
MNA 24-30 คะแนน ปกติ
BMI 18.5-24.9 kg/m2 ปกติ
ไม่มีอาการภาวะโภชนาการต่ำ
ex น้ำหนักลด, ผมร่วง, อ่อนแรง
กิจกรรมพยาบาล
1 ประเมิน MNA + BMI + อาการขาดสารอาหาร
2 แนะนำรับประทานอาหารครบ 5 หมู่
3 แนะนำแบ่งมื้ออาหาร 5-6 มื้อ +
เพิ่มเครื่องดื่มให้พลังงาน ex นม, น้ำผลไม้
4 แนะนำให้รับประทานอาหาร
ต้ม/นึ่ง/บด/ปั่น เพราะไม่มีฟันบดเคี้ยว
5 แนะนำรับประทานผักผลไม้เพิ่มกากใย
กล้วยน้ำว้าสุก
ชมพู่
ส้ม
ผักกาดขาว
ตำลึง
6 แนะนำออกกำลังกายสม่ำเสมอ ครั้งละ 30 min 5 day/wk
↑ HDL
กล้ามเนื้อแข็งแรง
↓น้ำตาลในเลือด
7 แนะนำให้ลดการสูบบุหรี่
เพราะเป็นปัจจัยขาดสารอาหาร
8 จัดสิ่งแวดล้อมให้น่ารับประทานอาหาร
จัดจานสีให้มีสีสันน่ากิน
อากาศถ่ายเท
ปราศจากสิ่งปฏิกูล/ถังขยะ
ปิดถังขยะมิดชิด
กิจกรรมผู้ดูแล
ติดตามน้ำหนัก ส่วนสูง
ประเมินBMI 1-2ครั้ง/wk
จัดอาหารให้มีสีสันน่ารับประทาน + สิ่งแวดล้อม
จัดเตรียมอาหารบด/ต้ม/นึ่ง/ปั่น
พาไปพบทันตแพทย์เพื่อดูแลรักษาทำฟันปลอม
NDx 6
มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากการมองเห็นลดลง :explode:
↑ อายุ
รูม่านตาเล็ก+แก้วตาขุ่นมัว
ปฏิกิริยารับแสง ↓
มองเห็น ↓
จอประสาทตาเสื่อม
++
↑CO2, ↓O2 ในเลือด
เลือดเลี้ยงจอประสาทตา ↓
สูบบุหรี่
เสี่ยงเกิดอุบัติเหตุ
ผิวหนังบาง
ไขมันใต้ผิวน้อย
ฟกช้ำ, เกิดแผลง่าย
หนังตายืดหยุ่น ↓
เป้าประสงค์
ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
เกณฑ์
ผู้สูงอายุไม่เกิดอุบัติเหตุ
ex หกล้ม ตกบันได ตกเตียง
ผู้สูงอายุไม่มีบาดแผลตามร่างกาย
ex ฟกช้ำ บวม แผลที่ผิวหนัง
Thai FRAT ได้ 0-3 คะแนน
ไม่เสี่ยงหกล้ม
กิจกรรมพยาบาล
1 ประเมินวัดสายตาด้วย Snellen chart
2 ประเมินภาวะเสี่ยงหกล้ม Thai FRAT
3 ประเมินสภาพร่างกายมีบาดแผลหรือไม่
ฟกช้ำ
บวม
เลือดคั่งใต้ผิวหนัง
แผล
4 ให้คำแนะนำจัดสิ่งแวดล้อมในบ้านเป็นสัดส่วน
เป็นระเบียบ จัดสิ่งของวางระดับศอกเพื่อหยิบจับง่าย
5 แนะนำการใช้บันไดที่เหมาะสม
ต้องมีความมั่นคง
กว้างพอดี
ไม่รีบขึ้น จับราวบันไดขึ้นเสมอ
ไม่มีสิ่งของกีดขวาง
แห้งตลอดเวลา
6 แนะนำทางเดินให้มีแสงสว่างเพียงพอ ห้องน้ำพื้นแห้งเสมอ ควรมีพรมเช็ดเท้ากันลื่น
7 แนะนำใส่รองเท้า/ถุงเท้าที่กันลื่น
8 แนะนำการเดินถนนอย่างถูกวิธี
เดินถนนบนทางเท้า (ถ้ามี)
อย่าเดินใกล้รถ
ก่อนข้ามมองซ้ายขวา
ควรเดินเร็วห้ามวิ่งข้าม
ถ้าไม่มีทางเท้าให้เดินชิดริมถนน ไม่เดินคู่กัน
เวลากลางคืนควรสวมเสื้อขาว
ข้ามบริเวณไฟสว่าง/พกไฟฉาย
9 แนะนำให้ไปพบจักษุแพทย์
เป็นประจำทุกปี
กิจกรรมผู้ดูแล
ดูแลพื้นห้องน้ำให้แห้งเสมอ
จัดเตรียมพรมเช็ดเท้ากันลลื่น
พาไปพบจักษุแพทย์ประจำปีและ
ตัดแว่นสายตา
NDx 7
มีภาวะเครียด
เนื่องจากขาดการติดต่อกับญาติหรือบุตรหลาน
↑ อายุ
จิตใจเปลี่ยนแปลง
ไวต่อความรู้สึก
หว้าเหว่/เหงา/เครียด/กังวล
การเสียหน้า
การเสียคุณค่า
การเสียความเคารพจากผู้อื่น
เป้าประสงค์
ลดภาวะเครียด
เกณฑ์
ST-5 ได้ 0-4 คะแนน
เครียดน้อย
แบบประเมินความหว้าเหว่
ได้ 24-48 คะแนน ระดับต่ำ
ไม่มีอาการเครียด
ex มึนหัว หงุดหงิด นอนไม่หลับ
กิจกรรมพยาบาล
1 ประเมิน ST-5 + อาการเครียด
2 ประเมินความหว้าเหว่ผู้สูงอายุ
3 ให้กำลังใจผู้สูงอายุ แนะนำให้ติดต่อลูก/หลานผ่านทางโทรศัพท์
แนะนำผู้สูงอายุว่า
“การติดต่อลูกหลานเมื่อคิดถึง
ไม่เป็นการเสียศักดิ์ศรี”
4 สนับสนุนให้พูดคุยกับเพื่อน
5 แนะนำศึกษาธรรมะ ปฏิบัติธรรม
6 แนะนำทำงานอริเรกยามว่าง/กิจกรรมที่ชื่นชอบ
กิจกรรมผู้ดูแล
หมั่นพูดคุยให้กำลังใจ
สังเกตอาการเครียด
ชักชวนทำกิจกรรมที่สนใจ