Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดยากเนื่องจากช่องทางคลอดที่ผิดปกติ (Abnormality of Passage) - Coggle…
การคลอดยากเนื่องจากช่องทางคลอดที่ผิดปกติ (Abnormality of Passage)
ส่วนที่เป็นกระดูก (Bony passage)
การคลอดยากจากหนทางคลอดส่วนที่เป็นกระดูก
เชิงกรานแคบที่ช่องเข้า (inlet contraction)
ตรวจพบเส้นผ่าศูนย์กลางตรงของช่องเข้า (obstetric conjugate) น้อยกว่า 10 เชนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางขวาง น้อยกว่า 12 เซนติเมตร ถ้าแคบจะทำให้ศีรษะทารกไม่สามารถเกิด engagement ได้ หรือเกิดได้ยาก
เชิงกรานแคบที่ช่องกลาง (midpelvic contraction)
ช่องกลางของเชิงกรานอยู่ที่ระดับ ischial spine ระยะระหว่าง ischial spine ทั้งสองข้างน้อยกว่า 9.5 เซนติเมตร เนื่องจากปุ่ม ischia spine ยื่นแหลมออกมามากจะทำให้เส้นผ่าศูนย์กลางตามแนวขวางแคบลง head ในตำแหน่งนี้เป็นจุดที่ทารกในครรภ์จะเกิด internal rotation ของศีรษะ ถ้าแคบทำให้ศีรษะทารกหมุนเป็นท่า occiput anterior ได้ยาก
เชิงกรานแคบที่ช่องออก (outlet contraction)
ระยะระหว่าง ischial tuberosity น้อยกว่า 8 เซนติเมตร และ มุมใต้กระดูกหัวเหน่าแคบน้อยกว่า 85 องศา ถ้าเชิงกรานช่องกลางแคบ จะพบเชิงกรานแคบที่ช่องออกด้วย ซึ่งจะทำให้คลอดยากเพิ่มขึ้น
4 เชิงกรานแคบทุกส่วน (generally contracted pelvis)
กระดูกเชิงกรานแคบหรือผิดสัดส่วน
การพยากรณ์ลักษณะของเชิงกรานที่มีผลต่อการคลอดคือ ลักษณะเชิงกรานแบบ Gynecoid และ Antropoid การพยากรณ์สำหรับการคลอดดี ส่วนเชิงกรานแบบ Android และ Platypelloid การพยากรณ์สำหรับการคลอไม่ดี โดยเฉพาะเชิงกรานแบบ Platypelloid ส่วนมากพบว่าต้องผ่าตัดทางหน้าท้อง เนื่องจากการผิดสัดส่วนระหว่างตัวทารกและอุ้งเชิงกรานของมารดา
สาเหตุ
.
1.การเจริญเติบโตของเชิงกรานผิดปกติ
2.ไรคกระดูก เช่น ไรคกระดูกอ่อน วัณโรคที่กระดูกเชิงกราน เนื้องอกของกระดูกเชิงกราน
3.ฮอร์โมนเพศหญิงไม่สมบูรณ์
4.กระดูกเชิงกรานแตกหรือร้าวจากอุบัติเหตุหรือกระดูกเชิงกรานหักเจริญผิดปกติ
5.ความพิการจากกระดูกลันหลังหรือขามาแต่ในวัยเด็ก
เชิงกรานเจริญไม่เต็มที่ ถ้าอายุน้อยกว่า 18 ปี
7.เชิงกรานที่ยืดขยายลำบาก ถ้าอายุมากกว่า 35 ปี
กระดูกเชิงกรานรูปผิดปกติ (Pelvic Abnormalities)
ส่วนที่เป็นกล้ามเนื้อ และเอ็นยึด (Solf passage)
สาเหตุ
1 เนื้องอกของมดลูก (myoma uterine) มีถุงน้ำที่รังใช่ (Ovarian Cyst) หรือเนื้องอกที่รังไข่ (benign ovarian tumors) มะเร็งที่ปากมดลูก นอกจากนั้นอาจจะมีความผิดปกติของมดลูกมาแต่กำเนิด
ปากมดลูกผิดปกติ
3.ช่องคลอดผิดปกติ
4.ปากช่องคลอดและฝีเย็บผิดปกติ
5.มดลูกอยู่ผิดที่ (uterine displacement)
มดลูกคว่ำหน้า (anteflexion) ซึ่งเกิดจากผนังหน้าท้องหย่อน (pendulous abdomen) เมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูกขณะคลอด แรงดันจะไม่ลงตรงไปที่ปากมดลูก ทำให้ปากมดลูกเปิดขยายข้า หรือไม่เปิด ส่วนนำจึงไม่เคลื่อนต่ำลงไป
มดลูกคว่ำหลัง (retroflexion) เมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูกขณะคลอด ปากมดลูกจะไม่ค่อยเปิดขยาย หรือเปิดขยายช้า
6.ปากมดลูกบวม (cervical edema)
7.กระเพาะปัสสาวะเต็มหรือมีอุจจาระมาก (full bladder or rectum) จะขัดขวางการเคลี่อนต่ำลงของทารกเข้าสู่อุ้งเชิงกราน