Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดสัมมนา
image, อ้างอิง - Coggle Diagram
การจัดสัมมนา
ขั้นตอนการจัดสัมมนา
ขั้นดำเนินการจัดสัมมนา
- ลงทะเบียน
- พิธีเปิดการสัมมนา
- การบรรยายหรืออภิปราย
- พักรับประทานอาหารว่าง
- การบรรยายหรืออภิปราย
- พักรับประทานอาหารกลางวัน
- ประชุมกลุ่มย่อย
- พักรับประทานของว่าง
- เสนอผลการรายงานกลุ่มน่อนต่อที่ประชุมใหญ่
- พิธีปิดการสัมมนา
ขั้นหลังการจัดสัมมนา
- จัดพิมพ์หนังสือขอบคุณวิทยากร
- จัดการ - การเงิน เกี่ยวกับหลักฐานต่างๆ
- ประเมินผลการสัมมนา
- จัดทำเอกสารการสัมมนา (เป็นเอกสารที่รวบรวมสาระของการดำเนินงานทั้งหมด)
- ประชุมสรุปผลการสัมมนา
- จัดทำรายงานผลการจัดสัมมนาพร้อมเสนอเอกสารการสัมมนาต่อผู้บริหาร
- จัดส่งเอกสารการสัมมนาไปให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ขั้นเตรียมการจัดสัมมนา
ขั้นเตรียมระยะแรก
- แต่งตั้งผู้ดำเนินการจัดสัมมนา
- กำหนดวัตถุประสงค์
- เลือกหัวข้อเรื่อง
- จัดประเด็นปัญหา
- ตกลงวิธีสัมมนา
- กำหนดวิทยากร
- กำหนดสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก
- กำหนดวัน เวลา และตารางการสัมมนา
- กำหนดงบประมาณ
- กำหนดกิจกรรมเสริมในการสัมมนา
- กำหนดวิธีการประเมินผล
- วางแผนการประชาสัมพันธ์
- จัดทำแผนปฏิบัติการ
- จัดทำโครงการสัมมนาเสนอฝ่ายบริหารอนุมัติ
-
ความหมาย
การจัดสัมมนาเป็นการจัดในลักษณะอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ หรือเป็นการระดมความคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ไม่มีวิทยากรมีแต่ผู้ประสานงานหรือผู้ดำเนินการคอยอำนวยความสะดวก
องค์ประกอบของการสัมมนา
-
- ด้านสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ
-
-
- หัวข้อเรื่อง เพื่อเป็นกรอบแนวคิด
ของเรื่องที่สัมมนา
-
-
-
-
ลักษณะของการสัมมนาที่ดี
- กำหนดจุดมุ่งหมายในการสัมมนาให้แน่ชัด
- กำหนดช่วงเวลาในการสัมมนาให้เหมาะสม
กับหัวข้อปัญหาที่จัดสัมมนา
- จัดการสัมมนาเพื่อเสริมความรู้และประสบการณ์
ใหม่แก่สัมมนาสมาชิก
- จัดให้สามาชิกได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น
กันอย่างกว้างขวาง
- ให้สมาชิกได้มีโอกาสร่วมกันแก้ไขปัญหา
- มีอุปกรณ์ในการสัมมนาเพียบพร้อม
- สัมมนาสมาชิกมีบุคลิกภาพทางประชาธิปไตยสูง
- ผู้ดำเนินการจัดการสัมมนามีคุณภาพ
มีความเป็นผู้นำและสันทัดจัดเจน
- มีการเผยแพร่ผลการสัมมนาสูสาธารณชนตามควรแก่กรณี
- ผลที่ได้รับจากการจัดการสัมมนาสามารถนำ
ไปเป็นแนวทางทำประโยชน์ได้อย่างแท้จริง
-
ประโยชน์ของการสัมมนา
- เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล ทำให้มีความเข้าใจในข้อเท็จจริงดีขึ้น
ซึ่งจะทำให้เกิดความร่วมมือเพื่อความสำเร็จต่อไป
- เป็นการร่วมกันแก้ไขปัญหาโดยผนึกความคิด ความรู้และประสบการณ์
ของหลายคนเข้าด้วยกัน
- เกิดความรู้สึกร่วมแรงร่วมใจ มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม
- เป็นการช่วยให้ผู้ร่วมสัมมนาได้รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่งทำให้มี
ทัศนะที่กว้างขึ้น
- เข้าใจถึงวิธีการปฏิบัติงานตลอดจนปัญหาต่างๆ
- เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นผลให้เกิดแรงบันดาลใจในการทำกิจกรรม
- สามารถสร้างความเข้าใจอันดีงามต่อเพื่อนร่วมงาน
วัตถุประสงค์ของการสัมมนา
- เพิ่มพูนความรู้ ความสามารถและประสบการณ์แก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
- หาวิธีการแก้ปัญหาหรือแนวทางปฏิบัติร่วมกัน
- ผู้ร่วมเข้าสัมมนานำหลักวิธีการที่ได้เรียนรู้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์
อ้างอิง
-
ณิรดา เวชญาลักษณ์. (ม.ป.ป.). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสัมมนา. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม