Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย, นางสาว ณัฐพร คำแก้ว เลขที่ 17 รหัส 61128301018 …
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ภาวะคุกคามจากสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ความดันบรรยากาศ
สูง ตะคริว เส้นเลือดในสมองอุดต้น
ต่ำ วิงเวียนศีรษะ อ่อนเพลีย
รังสี
รังสีชนิดแตกตัวเป็นไอออนรังสีชนิดไม่แตกตัวเป็นไอออน
ความร้อน
เป็นลม อ่อนเพลีย เป็นตะคริว
การควบคุมป้องกันอันตรายจากความร้อน
-สวมใส่เสื้อผ้าที่ระบายความร้อนได้ดี
-ดื่มน้ำหากรู้สึกว่าร่างกายอ่อนเพลียจากความร้อน
-หากทำงานภายในอาคารควรเพิ่มการระบายอากาศเช่น ติดพัดลม หรือเปิดหน้าต่างเพื่อระบายความร้อน
-หากทำงานที่ต้องสัมผัสกับแหล่งกำเนิดความร้อน เช่น หม้อไอน้ำ หรืออุปกรณ์เครื่องมือที่ก่อให้เกิดความร้อน ควรมีฉนวนกันความร้อน
-หากทำงานในที่โล่งแจ้งควรมีการหยุดพักระหว่างการทำงานในที่ร่มเพื่อระบายความร้อน
ความเย็น
เกิดการอุดตันของระบบไหลเวียนเลือดเกิดอาการชา หมดความรู้สึก
มาตรการเพื่อความปลอดภัยความเย็น
1 มีชั้นตอนการทำให้ร่างกายอบอุ่นชื้นและการปฐมพยาบาล
2 การปฏิบัติเกี่ยวกับเสื้อผ้าที่เหมาะสม
3 ความรู้เกี่ยวกับอาการเริ่มแรกก่อนเป็นโรคที่เกิดจากความเย็นจัด
4 มีแนวทางวิธีปฏิบัติงานในที่มีอุณหภูมิต่ำมาก
อันตรายที่เกิดจากแสงสว่าง
น้อย
ม่านตาเปิดกว้าง เมื่อยล้า ปวดตา มึนศีรษะ ภาวะตาไม่สู้แสง
มาก
ปวดตา มึนศีรษะ กล้ามเนื้อหนังตากระตุก นอนไม่หลับ การมองเห็นแย่ลง
เสียง
เสียงที่มีความดังเกิน 85 เดซิเบล ก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบ การได้ยินหูอื้อ หูหนวก เครียด โรคหัวใจความดันโลหิตสูง
ความสั่นสะเทือน
ชา ปวด เนื้อเยื่อตาย
สิ่งคุกคามทางการยศาสตร์
-การเจ็บป่วยจากการเคลื่อนย้ายของหนัก
–การเจ็บป่วยจากท่าทางการทำงาน
-การทำงานซำซาก
การป้องกันด้านการยศาสตร์
-ให้ความรู้แก่สู้ปฏิบัติงานเพื่อสร้างความตระหนักและส่งเสริมพฤติกรรม
-ปรับสภาพการทำงาน ของเครื่องจักรและอุปกรณ์ให้เหมาะสม
-จัดให้มีช่วงพักระหว่างการทำงาน
ลักษณะ
การส่งเสริม
การป้องกัน
การจัดการทำงาน
การปรับงานให้มี ความเหมาะสมกับคน
สิ่งคุกคามทางจิตวิทยาสังคม
สภาพเศรษฐกิจที่ไม่น่าพอใจ มีสัมพันธภาพ กับ เพื่อนร่วมงานไม่ดี ภาระงานมากเกินไป
ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามร่างกายความผิดปกติของหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะอาการท้องผูก นอนไม่หลับ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
การป้องกันด้านจิตสังคม
มีสติ พิจารณาคนเอง ว่ามีความรู้สึกอย่างไร รู้ตัวเมื่อมีความกังวล ความเครียด
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เสียงไม่ตังไม่ร้อนมากเกินไป
การฝึกสู้ปัญหาให้เกิดความเคยชินพัฒนาตนเองให้ปรับตัวได้มากขึ้น
จัดงานให้พอเหมาะ หลีกเสี่ยงานที่เครียดเกินไป แบ่งเวลาทำงาน พักผ่อน ออกกำลังกายและนอนหลับพักผ่อนเป็นเวลา
ภาวะคุกคามจากสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส สัตว์ ที่เป็นพาหะนำโรค หรือสัตว์
การป้องกันอันตรายจากเชื้อโรค
-ทำความสะอาดสถานที่ทำงานอย่างสม่ำเสมอ
-กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ ของพาหะนำโรคต่างๆ
-สร้างความตระหนักแก่ผู้ปฏิบัติงานในการทำงานให้ปลอดภัย
–ให้ภูมิคุ้มกัน
–ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
ภาวะคุกคามจากสิ่งแวดล้อมทางเคมี
ฝุ่น ไอโลหะ ละออง เส้นใย ควัน แก๊ส ไอระเหย
การป้องกันอันตรายจากสารเคมี
-เรียนรู้สารเคมีที่ต้องสัมผัสหรือใช้งาน
-จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับบุคลากรที่สัมผัสสารนั้นๆเช่นหน้ากากตู้ดูดควัน ถุงมือป้องกัน สารเคมีแว่นตาป้องกันสารเคมี
-การติดฉลาก วัตถุมีพิษ วัตถุระเบิด วัตถุติดไฟง่าย เพื่อสะดวกแก้การเคลื่อนย้ายเวลาเกิดอุบัติเหตุ
-การตรวจสุขภาพบุคลากรก่อนรับเข้าทำงานเพื่อป้องกันอันตรายจากการสัมผัสการตรวจสุขภาพประจำปีและตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงตามแผนของทีมอาชีวอนามัยกำหนดไว้
-เรียนรู้ขั้นตอนและซักซ้อมการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุเช่นการล้างด้วยน้ำสะอาดทันทีที่เกิดอุบัติเหตุปนเปื้อนจากสารเคมีตามคู่มื้อการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
-การทิ้งขยะที่ปนเปื้อนสารเคมีในกลุ่มขยะอันตราย
-ปฏิบัติตามข้อห้ามต่างๆอย่างถูกต้องและเคร่งครัด
นางสาว ณัฐพร คำแก้ว เลขที่ 17 รหัส 61128301018