Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยงสูง, นางสาว สุชานาถ สุโขประสพชัย …
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยงสูง
การจำแนกประเภททารกแรกเกิด
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกที่มีอายุครรภ์ 37 สัปดาห์เต็มหรือ
ต่ำกว่านี้
ทารกครบกำหนด
ทารกที่มีอายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์ - 41 สัปดาห์
ทารกเกินกำหนด
ทารกที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
การสูญเสียความร้อนในทารก
การนำ
ผิวสัมผัสกับวัตถุเย็น
การพา
การพาความร้อนจากทารกสู่สิ่งแวดล้อมที่เย็นกว่า
การแผ่รังสี
การเสียความร้อนไปที่เย็นกว่าโดยไม่ได้สัมผัส
การระเหย
เมื่อของเหลวเป็นไอน้ำ
การวัดอุณหภูมิ
ทวารหนัก
ทารกก่อนกำหนด
นาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
ทารกครบกำหนด
นาน 3 นาที ลึก 3 ซม.
รักแร้
ทารกก่อนกำหนด
นาน 5 นาที
ทารกครบกำหนด
นาน 8 นาที
Hypothermia
อุณหภูมิต่ำกว่า 36.5 องศา
อาการเริ่มแรก
มือเท้าเย็น ซีด ผิวลายจากเส้นเลือดขยายตัว ซึม ดูดนมช้า น้อย อาเจียน ท้องอืด น้ำหนักลดหรือไม่ขึ้น
Hyperthermia
อุณหภูมิสูงกว่า 37.5 องศา
อาจเกิดจากอยู่ในสถานที่ร้อนเกินไป
อาการเริ่มแรก
หุดหงิด เคลื่อนไหวลดลง หายใจเร็ว แรง หรือหยุดหายใจ ซึ่ม อุณหภมิร่างกายอุ่นกว่าปกติ
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศาเซลเซียส
วัดอุณหภูมิ Body temperature ทารก 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
keep warm (warmer, incubator หรือผ้า ห่มห่อตัว)
ระวัง “Cold stress”
ปรับอุณหภูมิห้องให้อยู่ในเกณฑท์เหมาะสม (25-26 องศาเซลเซียส)
-ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก4ชม.และปรับให้เหมาะสมกับสภาพของทารก
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก4ทาง
ระบบไหลเวียนโลหิต
การหายใจของทารกแรกเกิดเปลี่ยนจากรกเป็นปอด
Fetal circulation เป็น Neonatal circulation
ส่งผลให้
Foramen ovale ปิดสมบูรณ์
Ductusarteriosusจะหดตัวและปิดกลายเป็นเอ็น
Ductusvenosus ปิดเมื่อสายสะดือถูกตัดกลายเป็นเอ็นที่ตับ
Patent Ductus Arteriosus
อาการและอาการแสดง
• หายใจเร็ว
• หอบเหนื่อย
• น้าหนักไม่ขึ้น
•ท้องอืด
•รับนมได้น้อย
การรักษา
รักษาทั่วไป
ให้ยาควบคุมอาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
การรักษาจำเพาะ
โดยใช้ยาเพื่อช่วยยับยั้ง การสร้าง prostaglandin
การผ่าตัด PDA ligation
Hyperbilirubinemia
เกิดจากบิลลิรูบิน ในเลือดสูงกว่าปกติ
แบ่งออกเป็น 2ชนิด
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ
สาเหตุ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มข้ึนมากกว่าปกติ จากภาวะต่างๆท่ีมีการทำลายเม็ดเลือดแดง
การดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากข้ึน
การกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงจากท่อน้ำดีอุดตัน การขาดเอนไซด์บางชนิดแต่กำเนิด
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากข้ึนร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้นจากภาวะที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม
อาการ
ระยะแรก
ซึม ดูดนมน้อยลง ตัวอ่อนปวกเปียก เกร็งหลังแอ่น ชัก มีไข้
ระยะยาว
การเคลื่อนไหวผิดปกติของร่างกายและแขนขา
มีความผิดปกติของการได้ยินและการเคลื่อนไหวลูกตา พัฒนาการช้าระดับสติปัญญาลดลง
ระดับบิลิรูบินในเลือดสูง จะทำให้เข้า ไปจับกับ เน้ือสมองด้านใน ทำใหเ้กิดอาการผิด ปกติทางสมอง
เรียกว่า Kernicterus
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
ระบบหายใจ
RDS (Respiratory Distress Syndrome)
ภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบาก
ปัจจัยท่ีเสี่ยงต่อการเกิดโรค
มารดามีเลือดออกทางช่องคลอดก่อนกำหนด
ทารกมีภาวะ hypothermia, Perinatal asphyxia
ครรภ์ก่อนบุตรมีภาวะ RDS
มารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
สาเหตุ
• เกิดจากการขาดสารลดแรงตึงผิวที่ผิวของถุงลม
•โครงสร้างของปอดมีพัฒนาการไม่เต็มที่
อาการและอาการแสดงอาการ
ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบทางเดินหายใจ
หายใจเร็ว หน้าอกกับท้องไม่สัมพันธ์กัน
เสียงหายใจผิดปกติมรการกลั่นกายใจขณะหายใจออก
ซีด BPต่ำ
ระบบทรวงอก
หน้าอกบุ๋ม
ระบบทางเดินอาหาร : ดูดนมไม่ดีอาเจียนท้องอืด
ระบบประสาท : ซึมกระสับกระส่าย reflex ลดลงกระหม่อมโปร่งตึง
ระบบผิวหนัง : ตัวลาย ผิวหนังเย็น ตัวเหลือง มีจุดเลือดออก
เมตาบอลิซึม: Hypoglycemia ภาวะ acidosis
การรักษา
ให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารก
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยือหยุ่นของปอดดีข้ึน
Perinatal asphyxia
เป็นภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิ
สาเหตุ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอด
ปัจจัยทางด้านมารดา
ปัจจัยเก่ียวกับทารก
การรักษาประคับประคองและการรักษาตามอาการสาคัญ ที่สุด
Apnea of prematurity (AOP)
ภาวะหยดุหายใจนานกว่า 20 วินาทีร่วมกับมี cyanosis
Intraventricular hemorrhage (IVH)
ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง
เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เป็นปัญหาสาคัญที่พบในทารกคลอดก่อนกำหนด
Retinopathy of Prematurity (ROP)
การงอกผิดปกติของเส้นเลือด
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกรับออกซิเจนเท่าที่จำเป็น
ในทารกที่ได้รัออกซิเจน ติดตาม O2 saturation
ดูแลให้ได้รับวิตามินอี
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจ screening ROP
Bronchopulmonary Dysplasia
พบในทารกคลอดก่อนกำหนดที่เป็น RDS หรือโรคที่ต้องการ 02 ความเข้มขันสูงเกิน 60% และใช้เครื่องช่วยหายใจนานกว่า 24 ชม.
การรักษา
ตามสาเหตุ
ตามอาการ
การให้ 02, ให้ยาขยายหลอดลม,รักษาภาวะแทรกซ้อน, ฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis (NEC)
มีพยาธิสรีรภาพจากปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งจนทำให้ลำไส้เกิดการอักเสบ นำไปสู่การทำลายเยื่อบุผิวลำไส้ รวมถึง
เชื้อแบคทีเรียลุกลามเข้าไปสู่ผนังลำไส้ ทำให้เนื้อเยื่อในลำไส้ตาย
เกิดก๊าซแทรกตัวเข้าไปตามชั้นของผนังลำไส้ หรืออาจลึกเข้าไปถึงระบบเลือดดำ ทำให้ลำไส้เกิดภาวะขาดออกซิเจน จนทำให้ทารกมีอาการเจ็บป้วยขึ้นมา
อาการ
ท้องอืด ถ่ายอุจาระเหลว อาเจียนเป็นสีน้ำดี มีเลือดออกในทางเดินอาหาร อาหารเหลือค้างใน
กระเพาะอาหาร อาจมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
การรักษา
การระงับสิ่งกระตุ้นทำให้เกิดการอักเสบ ผ่านการพักการใช้ทางเดินอาหาร
ยาปฏิชีวนะชนิดสเปกตรัมกว้าง การระงับการติดเชื้อตามระบบต่างๆ ของร่างกาย
การพยุงระบบไหลเวียน ด้วยการให้สารสารอาหารทางหลอดเลือด
ให้ยากลุ่มกระตุ้นความดันโลหิต
การเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ได้แก่ สัญญาณชีพ ปริมาณปัสสาวะ การแข็งตัวของเลือด การ
เปลี่ยนแปลงของพยาธิสภาพในทางเดินอาหาร
วิธีรักษาภาวะลำไส้เน่าอักเสบ
โดยการผ่าตัดแบ่งออกได้ 2 วิธี
การผ่าตัดแบบเปิดสารวจช่องท้อง
หลังจากรับการผ่าตัดแล้ว จะต้องมีการเฝ้าระวังเพื่อฟื้นฟูร่างกายทารกหลังผ่าตัดให้กลับมาเป็นปกติ
โดยผู้
ดูแลจะต้องพยุงระบบไหลเวียนด้วยสารน้ำ และยาพยุงความดัน
อีกทั้งต้องเฝ้าระวังความผิดปกติเกี่ยวกับ
การแข็งตัวของเลือด ภาวะตกเลือดในสมอง ภาวดิดเชื้อในกระแสเลือด
การใส่ท่อระบายช่องท้อง
Hypoglycemia
ทารกที่มีอาการร่วมกับระดับน้าตาลน้อยกว่า
40 มก./ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
(10%D/W)
ทารกไม่มีอาการ
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก ดิดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นมมื้อแรก
*10% D/W 2 mg /kg.และ/หรือ glucose infusion rate (GIR) 5-8 มก/กก/นาที โดยให้ระดับน้ำตาลใน
เลือด อยู่ในช่วง 40-50 มก./ดล.
กรณีทารกเสี่ยงต่อระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
จะต้องตรวจหาระดับน้ำตาล ภายใน 1-2 ชม.หลังคลอด
และติดตามทุก 1-2 ชม.ใน 6-8 ชม.แรก
ในรายไม่แสดงอาการ ให้กินนมหรือสารละลายกลูโดส
ถ้ากินไม่ได้ให้สารละลายกลูโดสทางหลอดเลือดดำควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
Me conium aspiration syndrome (MAS)
ภาวะที่ทารกในครรภ์สูดลำลักหรือหายใจเอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในหลอดลมหรือปอด
การถ่ายขี้เทาออกมาปนในน้าคร่าขณะที่ทรกอยู่ในครรภ์
เกิดได้ 2 ลักษณะ
ลักษณะทางพยาธิสรีวิทยาปกติ
ลักษณะความผิดปกติทางพยาธิสภาพของรกและทารกในครรภ์ที่ตอบสนองต่อความเครียด
แนวทางการรักษา
ให้ทารกได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
พิจารณาให้ยาตามอาการของทารก เพื่อให้ทารกพักผ่อน ลดการใช้ออกซิเจนในร่างกาย
พิจารณาใช้ยาเพื่อขยายหลอดเลือดในปอด กรณีมีภาวะความดันในปอดสูง
ให้ยาปฏิชีวนะ ในกรณีมีภาวะหายใจลัมเหลว เพื่อลดการอักเสบเนื้อเยื่อปอด
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญ
การพยาบาล
เป้าหมายที่สำคัญเพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน ได้แก่ หายใจเร็ว อกบุ๋ม ปึกจมูก
บาน ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจมากขึ้น เขียว
วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชั่วโมง เฝ้าระวังการเกิดความดันด่าจาก PPHN
พัฒนาการพฤติกรรมทางระบบประสาท
การพยาบาล
การจัดท่า
หลีกเลี่ยงการเหยียดแขนขา พยายามให้ทารกอยู่ในท่าแขน ขางอเข้าหากลางลำตัว
ห่อตัวทารกให้แขนงอ มือสองข้างอยู่ใกล้ ๆ ปาก หลีกเลี่ยงการห่อตัวแบบเก็บแขน
ใช้ผ้าอ้อมหรือผ้ห่มผื่นเล็กมั่วนวางรอบ ๆ กายของทารกเสมือนอยู่ในครรภ์มารดา
การจับต้องทารกเท่าที่จำเป็น
จัดสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วยให้มีการกระตุ้นทางแสงและเสียงน้อยที่สุด
ส่งเสริมการดูดของทารก โดยใช้หัวนมหลอก
ส่งเสริมพัฒนาการด้านประสาทสัมผัสของทารกในขณะให้การรักษาพยาบาล
ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
การสร้าง IgM ยังไม่สมบูรณ์ ได้รับ IgG จากมารดาขณะอยู่ในครรภ์น้อย
เม็ดเลือดขาวมีน้อย จึงทำหน้าที่ในการกำจัดเชื้อโรด (phagocytosis) ไม่สมบูรณ์
ผิวหนังเปราะบาง epidermis และ dermis ยึดกันอย่างหลวมๆ จึงถูกทำลายได้ง่าย
Sepsis
Early onset Sepsi
ติดเชื้อในระยะก่อน ระหว่างการคลอด แสดงอาการภายใน 2-3 วัน แรกหลังคลอดภายใน 72 ชั่วโมงแรก
Late onset Sepsis
ติดเชื้อที่แสดงอาการ หลังคลอด 72 ชั่วโมงถึง 1 เดือน
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติมารดาขณะตั้งครรภ์ ไข้ ผื่น ด่อม น้าเหลืองโตสัมผัสผู้ป่วยติดเชื้อ
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ Culture 24-48 hr.
CBC , Plt count
ESR ดกูารตกของเม็ดเลือดขาว ทารกยังไมเกิน 2 mmhr
CRP
CXR
นางสาว สุชานาถ สุโขประสพชัย
รหัสนักศึกษา 62111301093 เลขที่ 90