Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบการจัดสัมมนาแบบ
Group discussion
image, อ้างอิง - Coggle Diagram
รูปแบบการจัดสัมมนาแบบ
Group discussion
ข้อดี
- ทุกคนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี
อย่างเต็มที่
- ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างสมาชิก
- เป็นการรวบรวมความคิดจากคนจำนวนมาก ซึ่งช่วยในการแก้ ปัญหาหรือหาข้อยุติที่ดีได้
- ช่วยให้สมาชิกมีความคิดความอ่านที่กว้างขวางขึ้น
- ช่วยให้มีโอกาสปรับปรุงตัวทางสังคมคือรู้จักสนใจและฟังความคิดเห็นของบุคคลอื่น
ข้อจำกัด
- หากสมาชิกมีความรู้และความคิดในวงแคบผลสรุปหรือข้อยุติอาจไม่ดีเท่าที่ควร
- ความแตกต่าง กันอย่างมากในคุณสมบัติด้านต่างๆของสมาชิกอาจก่อให้เกิดผลเสียได้
- หากผู้นำอภิปรายไม่มีความสามารถอาจทำให้ไม่ได้ความคิดเห็นของสมาชิกมากหรือดีเท่าที่ควร
- ถ้าสมาชิกมีจำนวนมากเวลาที่มีอยู่อาจไม่เพียงพอต่อการรวบรวมความคิดเห็นทั้งหมดเพื่อหาข้อยุติ
- หากสมาชิกไม่เข้าใจเรื่อง.หมายของการอภิปรายโดยแน่ชัดเพื่อหาของ การอภิปรายก็จะสับสนและไม่ เป็นไปตามแนวทางที่ต้องการ
- สมาชิกบางคนอาจพูดมากเกินไปในขณะที่บางคนมีส่วนร่วมในการอภิปรายน้อยเกินไป
วิธีดำเนินการ
- แบ่งกลุ่มสมาชิกออกเป็นกลุ่มๆ ละ 5-8 คน โดยเลือกประธานและเลขานุการทุกกลุ่ม
- ควรจัดที่นั่งแบบโต๊ะกลมหรือโต๊ะเหลี่ยม จะได้เห็นหน้าตากันได้ทุกคน
- ควรจัดสถานที่ให้อยู่ในบริเวณที่สามารถติดตามได้ง่ายและทั่วถึงทุกกลุ่ม
- กำหนดหัวข้อเรื่องเหมือนกันทุกกลุ่ม หรือกลุ่มละหัวข้อเรื่องก็ได้
- แต่ละกลุ่มควรดำเนินการอภิปรายให้จบภายในเวลาที่กำหนด
-
-
ประโยชน์ที่ได้รับ
ได้เรียนรู้และทราบว่าการสัมมนาแบบกลุ่ม
มีการแบ่งกลุ่มย่อยอีก เลยทำให้ทุกคนมี
โอกาสที่จะแสดงความคิดเห็นกันได้อย่าง
เสรี
ความหมาย
การประชุมพิจารณาหรืออภิปรายกันระหว่างสมาชิกจำนวน 6-20 คนในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่สนใจร่วมกัน หรือเป็นประโยชน์ร่วมกัน โดยการประชุมมีลักษณะเป็นแบบกันเองไม่เป็นทางการ เพื่อแสวงหาข้อยุติของกลุ่มในเรื่องที่อภิปราย
อ้างอิง
ส่วนพัฒนาและบริหารจัดการความรู้สถาบันดำรงราชานุภาพ. (ม.ป.ป.). การประชุมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล, การประชุมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล. (น. 5 – 28 )