Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดสัมนา, แหล่งอ้างอิง
ณิรดา เวชญาลักษณ. (2557). สัมมนา (Seminar).…
การจัดสัมนา
ความหมายของการสัมนา
:red_flag: การสัมมนาเป็นการจัดในลักษณะอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประสบการณ์หรือเป็นการระดมความคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
:red_flag: เหมาะสำหรับกรณีที่ผู้เข้าร่วมสัมมนามีประสบการณ์ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนมีความเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็น
:red_flag: ไม่มีวิทยากรมีแต่ผู้ประสานงานหรือผู้จัดดำเนินการคอยอำนวยความสะดวกและให้
:red_flag: ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะเลือกผู้นำกลุ่มการสัมมนาจากผู้เข้าร่วมสัมมนาด้วยกันเพื่อเป็นตัวแทนในการรายงานการอภิปรายและดำเนินการสัมมนาไปตามตารางที่กำหนดไว้
วัตถุประสงค์ของการสัมนา
- เพื่อการศึกษาและเรียนรู้ประเด็นต่างๆของปัญหาเพื่อน นำไปสู่การแก้ปัญหา
- เพื่อค้นคว้าหาคำตอบ ข้อเสนอแนะหรือหาข้อยุติที่จะใช้แก้ปัญหาร่วมกัน
- เพื่อนำผลของการสัมมนาเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจหรือกำหนดนโยบาย
-
ประโยชน์ของการสัมนา
- เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารระหว่างผู้เข้าสัมมนา ทำให้มีความเข้าใจข้อเท็จจริงต่างๆ ดีขึ้น ซึ่งจะทำให้เกิดความร่วมมือเพื่อความสำเร็จต่อไป
- เป็นการร่วมกันแก้ปัญหาโดยผนึกความคิด ความรู้และประสบการณ์ของคนหลายคนเข้าด้วยกัน ซึ่งย่อมได้ผลดีกว่าคนๆเดียว และเป็นการชักจูงให้หลายคนเข้ามามีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ
- ก่อให้เกิดความรู้สึกร่วมแรงร่วมใจ มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมนั้นๆ เพราะได้รับทราบเรื่องราว และมีส่วนเป็นผู้ก าหนดเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวเหล่านั้นอยู่ด้วย
- เข้าใจถึงวิธีการปฏิบัติงานตลอดจนปัญหาต่างๆ และวิธีการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนางานให้ได้ผลดี
- เป็นการช่วยให้ผู้เข้าสัมมนาได้ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่งจะทำให้มีทัศนะที่กว้างขวางขึ้นและเกิดแนวคิดของตนเอง
-
- สามารถสร้างความเข้าใจอันดีงามต่อเพื่อนร่วมงาน มีมนุษย์สัมพันธ์ เกิดความร่วมมือร่วมใจในการทำงาน สามารทำงานเป็นทีมได้เป็นอย่างด
ลักษณะของการสัมนาที่ดี
- ผู้เข้าร่วมสัมมนาทราบวัตถุประสงค์ของการสัมมนา
- จัดให้มีกิจกรรมในการแก้ปัญหาร่วมกัน
- จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น และข้อเท็จจริงร่วมกัน
- ผู้เข้าร่วมสัมมนามีทัศนคติที่ดีต่อปัญหา ข้อเท็จจริง ผู้เข้าร่วมสัมมนา และตนเอง
- ผู้เข้าร่วมสัมมนาต้องใช้ความคิดร่วมกันในการแก้ปัญหา
- ผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกคนเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินการประชุมสัมมนา เพื่อให้
งานสัมมนาบรรลุเป้าหมาย
-
ขั้นตอนการสัมนา
ขั้นเตรียมการจัดสัมนา
- การประชาสัมพันธ์การสัมมนาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
- ติดต่อเชิญวิทยากร ที่จะมาให้ความรู้แก่ผู้เข้าสัมมนาโดยวางแผนการติดต่อเชิญวิทยากร
-
- การเตรียมการ ด้านสถานที่และอุปกรณ
- เตรียมการด้านการลงทะเบียน ตรียมการด้านเอกสารแจกผู้เข้าร่วมการสัมมนา เอกสารที่จะแจกผู้เข้า ร่วมการสัมมนาควรจัดใส่แฟ้มให้เรียบร้อย โดยมีเอกสารต่าง ๆ
ขั้นดำเนินการจัดสัมนา
- การลงทะเบียน พร้อมกับรับเอกสารการสัมมนา
-
- จัดกลุ่มใหญ่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจะสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน
- จัดกลุ่มย่อย หลังจากที่ได้รับความรู้
- จัดรวม เพื่อรายงานผลการแนวทางการแก้ไขปัญหาของแต่ละกลุ่มย่อยอภิปรายผลทั่วไป
-
ขั้นหลังการจัดการสัมนา
- วิเคราะห์การประเมินผลการสัมมนา
- รายงานผลการสัมมนาต่อผู้บังคับบัญชา ให้ทราบเป็นลายลักษณ์อักษร ภายหลังจากการสัมมนาสิ้นสุดลง
- ทําหนังสือแจ้งผลการสัมมนาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ดําเนินการเกี่ยวกับงบประมาณค่าใช้จ่ายต่างๆ
- ติดตามผลและวิเคราะห์การติดตามผลการสัมมนา
-
-
แหล่งอ้างอิงณิรดา เวชญาลักษณ. (2557). สัมมนา (Seminar). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2559). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสัมมนา. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม .
Joni Cheng. (2006). TEACHING SEMINAR COURSES. https://commons.georgetown.