Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงการศึกษา, นางสาววันเพ็ญ แพรเขียว รหัสนักศึกษา 63121684122 …
โครงการศึกษา
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2452
จัดการศึกษาที่สูงกว่าประถมศึกษา คือ ระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา
เพื่อให้นักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาสูงแล้วไปศึกษาต่อในยุโรปโดยไม่ต้องเสียเวลาเตรียมที่จะไปเข้ามหาวิทยาลัย
ตรงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
กำหนดเพิ่มหลักสูตรมัธยมพิเศษให้เหลือเวลาเรียนเพียง 3 ปี เท่ากับหลักสูตรประถมวิสามัญและมัธยมสามัญ
มัธยมพิเศษ เป็นความรู้เทียบเท่าชั้นต้นของมหาวิทยาลัย
ประถมศึกษา เรียน 3 ปี อายุ 10-12 ปี
มัธยมศึกษา เรียน 3 ปี อายุ 13–15 ปี
มูลศึกษา เรียน 3 ปี อายุ 7-9 ปี
มัธยมสูง เรียน 3 ปี อายุ 16-18 ปี
กำหนดเพิ่มหลักสูตรมัธยมสูงอีก 3 ปี ต่อจากหลักสูตรมัธยมสามัญ
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2456
เปลี่ยนชื่อมูลศึกษาเป็นประถมศึกษา
การศึกษามี 3 ระดับ คือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา
มีจุดมุ่งหมายสำคัญคือปรับความเข้าใจผิดของราษฎร ปรับปรุงสามัญศึกษาและวิสามัญศึกษาให้มีความสัมพันธ์กัน
มุ่งปรับปรุงสามัญศึกษาและวิสามัญศึกษาให้มีความสัมพันธ์กัน
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
มุ่งแก้ไขความเข้าใจผิดของราษฎร
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2441
การจัดประเภทการศึกษา ระบบการศึกษาให้มีระเบียบแบบแผนในการพัฒนาการศึกษา
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงกระตุ้นให้มีการขยายการศึกษาให้แพร่หลายทั้งประเทศ
การขยายการศึกษาให้แพร่หลายทั้งประเทศเพื่อยกระดับมาตรฐานการศึกษาของประเทศให้สูงขึ้น
ประเภทการศึกษา
การศึกษาพิเศษ
การศึกษาวิชาเฉพาะ เช่น การฝึกหัดครู อาจารย์ กฎหมาย การแพทย์ การช่าง การค้า และการเพาะปลูก
มัธยมศึกษา
สกลวิทยาลัย
มูลศึกษาและประถมศึกษา
กลุ่มการศึกษาสามัญศึกษา
ประถมศึกษา เป็นการเล่าเรียนเบื้องต้น
มัธยมศึกษา เป็นการเล่าเรียนเบื้องกลาง
มูลศึกษา เป็นการเล่าเรียนเบื้องแรก
อุดมศึกษา เป็นการเล่าเรียนเบื้องสูง
แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับแรก
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2458
เพื่อหาลู่ทางที่จะส่งเสริมให้พลเมืองหันมาสนใจการศึกษาวิชาชีพอย่างจริงจัง
เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องและปรับปรุงโครงการศึกษา พุทธศักราช 2456 ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
ประชาชนส่วนมากยังมุ่งเรียนเฉพาะวิชาหนังสือ และยังเรียนครึ่ง ๆ กลาง ๆ มีความมุ่งหมายที่จะประกอบอาชีพเป็นเสมียนและรับราชการ
มุ่งแก้ไขความเข้าใจผิดของราษฎร
เพื่อให้มีการจัดการสอนวิชาวิสามัญ ในระดับมัธยมศึกษาด้วย
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2464
จัดทำคำแนะนำชี้แจงแก่ราษฎรเกี่ยวกับหนทางในการทำมาหาเลี้ยงชีพด้วยการเรียนวิชาชีพอย่างอื่นบ้าง
ต้องการจะแก้ไขความนิยมอาชีพเป็นเสมียนของพลเมือง
ในระดับอุดมศึกษากำหนดให้มีระดับประกาศนียบัตร ซึ่งต่ำกว่าปริญญาตรี
เหตุผลในการประกาศโครงการ พุทธศักราช 2464 มีลักษณะเช่นเดียวกันกับโครงการศึกษา พุทธศักราช 2456 และ 2458
เพิ่มเติมรายวิชาที่สอนให้กว้างขวาง
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2445
โครงการที่ยึดแบบแผนมาจากอังกฤษและได้มีการดัดแปลงบางส่วนให้เหมาะสมกับประเทศไทย
ตามที่พระยาวิสุทธสุริยศักดิ์ได้ไปศึกษางานการศึกษาของประเทศญี่ปุ่น
การศึกษา
ประเภทศึกษา
สายวิสามัญศึกษา
วิสามัญขั้นกลาง เรียกว่า มัธยมศึกษาพิเศษ
วิสามัญขั้นสูง เรียกว่า อุดมศึกษาพิเศษ
วิสามัญขั้นต้น เรียกว่า ประถมศึกษาพิเศษ
สายสามัญศึกษา
ระดับมัธยมศึกษา
ระดับประถมศึกษา
ระดับการศึกษา
ประโยคสอง
ประโยคสาม
ประโยคหนึ่ง
โครงการศึกษา พุทธศักราช 2450
การจัดการศึกษา
วิสามัญศึกษา
มัธยมเรียน 3 ปี ได้แก่โรงเรียนแพทย์และฝึกหัดอาจารย์
ประถมศึกษา เรียนได้ 3 ปี ได้แก่ โรงเรียนอังกฤษมหาพฤฒาราม สโมสรช่าง สโมสรอังกฤษ และโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์
สามัญศึกษา
แผนกพิเศษ
ประถมศึกษา กำหนดเวลาเรียน 3 ปี เรียนตามหลักสูตรภาษาอังกฤษและวิชาต่าง ๆ ตามความต้องการ
มัธยมพิเศษ หรือเรียกว่ามัธยมภาษา กำหนดเวลาเรียน 5 ปี เน้นหนักทางด้านภาษาอังกฤษ ปีที่ 1-4 สอนวิชาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษทั้งสิ้น ปีที่ 5 เรียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ กำหนดอายุ 17-18 ปี
มูลพิเศษ กำหนดเวลาเรียน 3 ปี ปีสุดท้ายเริ่มเรียนภาษาอังกฤษ
แผนกสามัญ
ประถมศึกษา กำหนดเวลาเรียน 3 ปี เรียนวิชาเลข ภูมิศาสตร์ พงศาวดาร วาดเขียน กำหนดอายุไม่เกิน 12 ปี
มัธยมศึกษา กำหนดเวลาเรียน 3 ปี วิชาเรียนเหมือนในระดับประถมศึกษา แต่เพิ่มวิชาภาษาอังกฤษ วิชาคำนวณและวิทยาศาสตร์ให้มากขึ้น
มูลศึกษา กำหนดเวลาเรียน 3 ปี เรียนวิชาเลข กำหนดอายุไม่เกิน 9 ปี
นางสาววันเพ็ญ แพรเขียว รหัสนักศึกษา 63121684122
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู รุ่น 7 ห้อง 5