Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ Part 2 - Coggle Diagram
บทที่ 2 การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ Part 2
ไข้เลือดออก
Dengue hemorrhagic fever
Dengue Fever
ในเด็กมักพบอาการเล็กน้อย มีไข้สูงไม่มีน้ำมูก หน้าแดง ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ กระดูก มีผื่น มีจุดเลือดออก มีเลือดกำเดาไหล เม็ดเลือดขาวต่ำ เกล็ดเลือดต่ำ แต่ไม่มีอาการช็อค
Dengue haemorrhagic Fever
มีอาการคล้ายไข้เดงกี่คือไข้สูงลอย อาการที่สำคัญคือมีการรั่วของพลาสมานำไปสู่เด็งกี่ Shock Syndrome หลังเกร็ดเลือดลดลง 12 ชั่วโมง และจะรั่วนาน 24-48 ชั่วโมงทำให้ระดับฮีมาโตคริตเพิ่มสูงขึ้น มีน้ำในช่องท้องและช่องปอด
การดำเนินโรคแบ่งเป็น 3 ระยะ
1. ระยะไข้สูง
ส่วนใหญ่จะมีไข้สูงลอย อุณหภูมิกายอยู่ที่ 38.5 องศาเซลเซียส 2-7 วัน มีหน้าแดง ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา เบื่ออาหาร อาเจียนปวดท้อง อาจมีตับโต และจะปวดบริเวณชายโครงขวา
2. ระยะวิกฤต/ช็อก
ไข้ลดลงวันที่ 4-7 ของโร มีการรั่วของพลาสมาระยะรั่ว 24-48 ชั่วโมงหากมีอาการรุนแรง อาจเกิดการไหลเวียนล้มเหลวพลาสมา รั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดและช่องท้องมากทำให้เกิด hypovolemic Shock อาจจะมีอาการกระสับกระส่ายมือเท้าเย็น ระยะ Shock มีการรั่วของพลาสมา ซึ่งนำไปสู่ hypo Shockระดับ peripheral resistance เพิ่มขึ้น
3. ระยะฟื้นตัว
พลาสมาเข้าสู่หลอดเลือด กลับเข้าสู่สภาพปกติภายใน 2-3 วัน ไม่มีอาการช็อค หิมะตกดิบลงมาคงที่ ชีพจรช้าลงและแรงขึ้น BP ปกติ จำนวนปัสสาวะเพิ่มขึ้นอาจพบ bradycardia อาจพบ confluent petechial rash ลักษณะวงกลมเล็กๆสีขาวของผิวหนัง ท่ามกลางผืนแดง
การวินิจฉัย
: ทำ touniquet test การเจาะเลือด การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การเจาะหาภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสไข้เลือดออก การตรวจ occult blood
อาการจำเพาะ
: ไข้สูงลอย 2-7 วัน อาการเลือดออก ตับโตกดเจ็บ มีภาวะเลือดไหลเวียนล้มเหลว/ภาวะช็อค
การรักษา
:
ระยะไข้สูง ให้ยาลดไข้เมื่อมีไข้สูงเกิน 38.5 องศาเซลเซียส ห้ามให้ยาแอสไพริน ถ้าอาเจียนอาจให้ยาระงับการอาเจียนและให้ ORS น้อยๆบ่อยๆ
ระยะช็อคอาการช็อคและอาการเลือดออก ควรให้สารน้ำไม่เกิน 24-48 ชั่วโมง โดยให้ Crytalloid solution หรือ5%DNSS,5%DLRในเด็กโต ส่วนเด็กเล็ก น้อยกว่า 1 ปี ให้ใช้5% DN/2 ในระยะช็อกรุนแรงให้ 0.9% NSS จนสัญญาณชีพดีขึ้น
ให้เลือด อาการที่มีเลือดออกเกินร้อยละ 10 ของปริมาณเลือดทั้งหมด
ระยะพักฟื้น เป็นช่วงสารน้ำกลับเข้าสู่หลอดเลือด จำเป็นต้องหยุดหรือลดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และหลีกเลี่ยงการทำหัตถการที่รุนแรง การจำหน่ายเด็กกลับบ้าน ควรมีไข้ลดลงนานกว่า 24 ชั่วโมงโดยไม่ได้ยาลดไข้
การพยาบาล
-เช็ดตัวลดไข้
-การให้โอกาสน้อยๆแต่บ่อย
-อาหารย่อยง่าย
-ทำความสะอาดร่างกาย
-บันทึกสัญญาณชีพทุก 15-30 นาที
-การเจาะฮีมาโตคริตทุก 4-8 ชั่วโมง
-การดูผลเกร็ดเลือดค่า Hct.สูง Plat.ต่ำเป็นสัญญาณอันตราย
-ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ สังเกตภาวะหอบ หายใจลำบาก และสังเกตปัสสาวะ
-การขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ห้ามสวน และต้องมีการบันทึกปริมาณน้ำเข้า และปัสสาวะที่ผู้ป่วยขับออก
-ในระยะฟื้นตัว เริ่มอาหารอ่อน แล้วเปลี่ยนเป็นอาหารธรรมดา วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง ดูแลเกี่ยวกับของเล่นให้เหมาะสมตามวัย และอาการของเด็กเพื่อส่งเสริมให้พัฒนาการให้เป็นไปตามปกติเท่าที่จะทำได้
โรคติดเชื้อในเด็ก
HIV/AIDS
โรคเอดส์
คือโรคที่เกิดภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเสื่อมไป เพราะถูกทำลายโดยเชื้อไวรัส ที่เรียกว่า HIV (Human immunodeficiency virus)
ระยะฟักตัวประมาณ 2-3 เดือน แสดงอาการภายใน 5 ปี
การติดต่อ
-จากแม่สู่ลูก การกินนมมารดา
-การได้รับเชื้อ ได้รับเลือด
-การมีเพศสัมพันธ์
อาการ
ตับ ม้ามโต ผิวหนังอักเสบ เจ็บป่วยบ่อย ท้องเสียเรื้อรัง ฝ้าขาวจากเชื้อราในช่องปาก ติดเชื้อราในปอด เยื่อหุ้มสมอง ซูบผอมมาก พัฒนาการช้า
การป้องกัน
ให้ยาต้านเชื้อไวรัส คือ AZT โดยให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานทุก 12 ชม.เมื่ออายุครรภ์ครบ 32-34สัปดาห์ และเพิ่มเป็นทุก 3 ชม.เมื่อเจ็บครรภ์จนกระทั่งคลอด
เลือกทำการผ่าตัดออกทางหน้าท้องก่อนเจ็บครรภ์คลอดและน้ำเดิน
ลดให้นมแม่ ให้นมผสมแทน
การดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
1.การส่งเสริมโภชนาการ
2.การส่งเสริมพัฒนาการ
3.การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
โรคมือ เท้า และปากเปื้อย
Hand Foot Mouth Disease
สาเหตุ
: เกิดจากเชื้อกลุ่ม enterovirus
การติดต่อ
: ทาง fecal-oral Respiratory route
ระยะฟักตัว
: 2-6 วัน
อาการ
: เริ่มจากการมีไข้ต่ำๆ เจ็บคอ มีผื่นขึ้น เริ่มจากจุดนูนแดงเล็กๆ ต่อมาเป็นตุ่มน้ำ ไม่เจ็บแห้ง ใน 1 สัปดาห์ มีแผลหรือผื่นในช่องปาก ลิ้น เยื่อบุช่องปาก เหงือก เพดาน ริมฝีปาก เป็นตุ่มใสขนาด 1-3 มม. แล้วแตกเป็นแผล อาการเจ็บปาก ตรวจร่างกายจะพบมีรอยโรคในบริเวณปาก มือ และเท้าตามมา
การวินิจฉัย
: ดูจากอาการและอาการแสดง ตรวจร่างกายพบรอยโรค ที่บริเวณมือ เท้า ปาก ร่วมกับมีไข้ ตรวจรอยการติดเชื้อจากน้ำเหลือง ตรวจรอยโรคที่ผิวหนัง
ภาวะแทรกซ้อน
: ก้านสมองอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ กล้ามเนื้ออ่อนแรงคล้ายโปลิโอ ปอดอักเสบ กล้ามเนื้อหรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ มีปอดบวมน้ำ
การรักษา
:
รักษาแบบประคับประคองและบรรเทาอาการ หากไม่มีภาวะแทรกซ้อน เป็นโรคที่สามารถหายได้เอง โดยใช้เวลาประมาณ 7 วัน
กรณีที่มีภาวะแทรกซ้อน ให้รักษาตามอาการเป็นส่วนใหญ่ หลังจากการติดเชื้อผู้ป่วยจะมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสที่ก่อโรค แต่อาจเกิดโรคมือเท้าปากซ้ำได้
การป้องกัน
: แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคออกจากกลุ่มเพื่อนในโรงเรียนสถานเลี้ยงเด็ก แยกเด็กป่วยไม่ให้ร่วมกิจกรรมกับเด็กอื่น ผู้ดูแลเด็กล้างมือบ่อยๆโดยเฉพาะหลังเปลี่ยนผ้าอ้อม หรือสัมผัสกับน้ำมูกหรือน้ำลายของเด็ก ทำความสะอาดพื้น ห้องน้ำ สุข าเครื่องใช้ ของเล่น สนามเด็กเล่น ตลอดจนเสื้อผ้าที่อาจปนเปื้อนเชื้อ ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อที่ใช้ทั่วไปภายในบ้าน เชื่ออยู่ในอุจจาระได้นาน 6-12 สัปดาห์
โรคไข้ซิกา
Zika fever
สาเหตุ
: เกิดจากเชื้อไวรัสซิก้า ที่มียุงลายบ้านเป็นพาหะ
อาการ
: มีไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ผื่น ตาแดง ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ
การติดต่อ
:
การติดเชื้อจากแม่สู่ลูก
ขณะตั้งครรภ์หรือคลอด
การแพร่เชื้อผ่านทางเพศสัมพันธ์
การแพร่เชื้อผ่านการบริจาคเลือด
การรักษา
:
1.ดื่มน้ำมากๆเพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
2.นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
3.รับประทานยาพาราเซตามอล ในกรณีที่เป็นไข้หรือมีอาการปวด
4.ห้ามรับประทานยาแอสไพริน ยาบรรเทาอาการปวด หรืออักเสบในกลุ่ม NSASIDs
5.สำหรับหญิงตั้งครรภ์ ควรเข้ารับการฝากครรภ์และพบแพทย์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อเเบคทีเรีย
โรคแผลพุพอง (Impetigo)
สาเหตุ
จากผิวหนังติดเชื้อแบคทีเรียชนิด Streptococcus pyogenes และชนิด Staphylococcus aureus ซึ่งเป็นเชื้อที่อาจพบได้บริเวณผิวหนังและทางเดินหายใจ
อาการ
มักพบเกิดเป็นรอยโรคที่ผิวหนังบริเวณใบหน้าหรือบริเวณแขน-ขา ที่มีแผลอยู่ก่อนแล้ว โดยเริ่มด้วยมีตุ่มน้้าหรือตุ่มหนองเล็กๆ
การป้องกัน
รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน ไม่คลุกคลีกับผู้ป่วยโรคพุพอง ไม่ใช้เครื่องใช้ร่วมกัน
เมื่อมีแผลเกิดขึ้นควรรักษาความสะอาดแผลเสมอ
ตัดเล็บให้สั้น ไม่แกะ เกา บีบแผล
ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆและทุกครั้งที่สัมผัสแผล
การรักษา
ดูแลแผล โดยการทำแผลด้วยน้ำเกลือ
กำจัดเชื้อโรคโดยการทานยาปฏิชีวนะ
โรคเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ
Cellulitis
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย staphylococcus หรือ streptococcus และไม่เป็นโรคติดต่อ อาจจะเกิดจากโรคอ้วนหรือมีน้ำหนักเกิน ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอเนื่องจากโรคเบาหวานโรคไต
อาการ
มีผื่นที่ผิวหนังในทันทีทันใดและกระจายไปยังส่วนต่างๆอย่างรวดเร็วภายใน 24 ชั่วโมง รู้สึกปวดบริเวณที่ติดเชื้อ เจ็บปวด ผิวตึงและแตกออกมีไข้
การรักษา
เซลล์เนื้อเยื่ออักเสบสามารถรักษาให้หายได้ โดยทานยาปฏิชีวนะเป็นเวลา 10-14 วัน
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อไวรัส
หูด (warts)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ Human papilloma virus (HPV)
การรักษา
ใช้สารเคมี การรักษาด้วยความเย็น การผ่าตัด การใช้แสงเลเซอร์ การรักษาด้วยระบบอิมมูน
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรคกลาก (dermatpophytosis)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อรากลุ่ม dermatophyte
โรคเกลื้อน
(tinea vesicolor)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ dimorphic yeast malassezia furfur
Candidiasis
สาเหตุ
เชื้อ candida albicans
ตำแหน่ง
ช่องปาก ผิวหนัง
การรักษา
: การใช้ยาต้านเชื้อราชนิดต่างๆตามความรุนแรงของอาการ
และตามดุลพินิจของแพทย์
การรักษาประคับประคองตามอาการ
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อปรสิต
โรคหิด (scabies) พบบ่อยในเด็ก
สาเหตุ
เกิดจากตัวหิด
ลักษณะ
ผื่นนูนแดงขนาดเล็ก หรือตุ่มน้ำใสขนาดเล็ก
การวินิจฉัยโรค
ตรวจ KOH
การรักษา
การซักเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน ยาแก้คัน ใช้ยาทา ใช้ยาปฏิชีวนะในไลน์ติดเชื้อแบคทีเรีย
เหาศีรษะ (head louse)
สาเหตุ
Pediculus humanus var capitis
ลักษณะ
คันศีรษะ เกาจนถลอก
การวินิจฉัยโรค
ตรวจไข่เหา
การรักษา
การตัดผมสั้น การทำความสะอาดเครื่องนอน การสระผมด้วยแชมพูยา ใช้เม็ดน้อยหน่าตำหมักผม การหวีเอาไข่เหาออก การให้ยาปฏิชีวนะ
โรคผิวหนังอักเสบ
สาเหตุ
มักพบในเด็กอายุ 2-3เดือน และ2-3 ปี
ภูมิแพ้ไวต่อสิ่งกระตุ้น ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การติดเชื้อ
Atopic dermatitis เป็นโรคผิวหนังอักเสบเรื้อรังที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก
Seborrheic dermatitis เป็นโรคผิวหนังอักเสบเรื้อรังที่พบบ่อยในเด็กทารกและวัยรุ่น
Diaper dermatitis เป็นโรคผิวหนังอักเสบที่เกิดบริเวณผิวหนังที่นุ่งผ้าอ้อม
สาเหตุภายในหรือภายนอกเป็นตัวกระตุ้น
แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
Acute stage ผิวแดง บวมมีตุ่มน้ำ น้ำเหลืองไหล สะเก็ดน้ำเหลืองและคัน
Subacute stage ผื่นเริ่มแห้งมีสะเก็ดเล็กน้อยและคันมากขึ้น
Chronic stage ตุ่มแดง ขุย รอยเกา ผิวหนังแข็งหนาดำ และคันเพิ่มมากขึ้น
การรักษา
Acute stage ใช้ Wet dressing ด้วยน้ำเกลือ น้ำละลายด่างทับทิบ
Subacute stage ทา corticosteroid cream
Chronic stage ใช้ keratolytic agent ร่วมกับ corticosteroid cream หรือointment ทาเพื่อให้ผิวหนังบางลง
ยาลดคัน
ต้องแห้งสะอาด ไม่หมักหมม
ทาวาสลินหรือ zinc oxide cream เพื่อไม่ให้ผิวหนังสัมผัสกับปัสสาวะ อุจจาระ
ถ้าผิวหนังอักเสบมากอาจให้ยาต้านเชื้อราร่วมด้วย