Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
บทที่6
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร
รักษาด้วยยา
โรคกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กอักเสบ
สาเหตุ
ติดเชื้อ
ไวรัส
ปรสิต
แบคทีเรีย
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
ไม่อยากอาหาร
ปวดเกร็งท้อง และมีเสียงโกรกกราก
รู้สึกป่วย เป็นไข้อ่อน ๆ
การวินิจฉัย
แพทย์อาจสอบถามประวัติทางการแพทย์ของผู้ป่วยก่อน เพื่อให้มั่นใจว่าอาการที่ปรากฏไม่ได้มีสาเหตุมาจากภาวะหรือการเจ็บป่วยอื่น ๆ ของผู้ป่วย
การรักษา
ในปัจจุบันยังไม่มีการรักษาเฉพาะสำหรับโรค Gastroenteritis ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัส เพราะโดยทั่วไปร่างกายของผู้ป่วยมักฟื้นตัวจากอาการต่าง ๆ และหายดีได้เองภายใน 1 สัปดาห์
การป้องกัน
ล้างมือให้สะอาด
ล้างอาหารและผักให้สะอาด
ห้ามรับประทานปลาหรือเนื้อสัตว์ดิบ
โรคกระเพาะอาหารอักเสบ Gatritis
อาการ
รู้สึกไม่สบายช่องท้องส่วนบน
จุกหน้าอก
แน่นท้อง
อาหารไม่ย่อย
เรอบ่อย
ท้องเฟ้อ
คลื่นไส้
สาเหตุ
การติดเชื้อแบคทีเรีย
เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร
การวินิจฉัย
สอบถามประวัติ
การตรวจร่างกาย
การส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหาร (Endoscopy)
การเอกซเรย์กระเพาะอาหารด้วยการกลืนแป้งแบเรียมเพื่อตรวจดูความผิดปกติ
การรักษา
การใช้ยาปฏิชีวนะ
ยาอะมอกซิซิลลิน (Amoxicillin)
ยาเมโทรนิดาโซล (Metronidazole)
ยาคลาริโธรมัยซิน (Clarithromycin)
การป้องกัน
การรักษาความสะอาดและสุขอนามัยในการรับประทานอาหารเป็นหลักสำคัญ
สาเหตุ
การติดเชื้อ
ภาวะอาหารเป็นพิษ
หลังจากการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรคเข้าไป
อาการ
ท้องอืด
การถ่ายอุจจาระเหลว
ปวดท้อง
ถ่ายเป็นน้ำมากกว่า 3 ครั้งขึ้นไป
การรักษา
ดื่มผงน้ำตาลเกลือแร่โออาร์เอส (ORS)
ควรดื่มน้ำมาก ๆ
การป้องกัน
เลือกรับประทานอาหารอย่างระมัดระวัง
ประทานของร้อน อาหารที่สะอาด
เลือกดื่มน้ำที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ
ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังรับประทานอาหารหรือสัมผัสกับอาหาร
รักษาด้วยการผ่าตัด
โรคลำไส้โป่งพองแต่กำเนิด Hirschsprung's Disease
สาเหตุ
เซลล์ประสาทในลำไส้ใหญ่ส่วนปลายจะทำหน้าที่ควบคุมการหดตัวของกล้ามเนื้อและช่วยให้อาหารเคลื่อนผ่านลำไส้ แต่เมื่อเซลล์ประสาทในลำไส้ใหญ่ส่วนปลายไม่สมบูรณ์หรือเกิดความผิดปกติ
อาการ
ในเด็กเล็กหรือเด็กโต
มีอาการปวดท้อง ท้องบวม ท้องผูกเรื้อรังและรักษาไม่หาย
ในทารกแรกคลอดอาจไม่ขับถ่ายขี้เทาภายในเวลา 48 ชั่วโมงแรก
มีอาการท้องเสีย อาเจียนเป็นสีเขียวหรือน้ำตาล ท้องอืดและบวม
การวินิจฉัย
การตรวจวัดการทำงานของกล้ามเนื้อลำไส้ใหญ่และหูรูดทวารหนัก
การตัดชิ้นเนื้อบริเวณลำไส้ใหญ่
การเอกซเรย์ช่องท้อง
การรักษา
การผ่าตัดผ่านกล้อง
การผ่าตัดเปิดบริเวณหน้าท้อง
การป้องกัน
Hirschsprung’s Disease ไม่สามารถป้องกันได้ แต่หากผู้ที่มีสมาชิกในครอบครัวป่วยด้วยโรคนี้และวางแผนจะตั้งครรภ์ ควรปรึกษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อประเมินความเสี่ยงของทารก เพราะโรคนี้อาจถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
Gastroschisis
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมร่วมกับปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อมอื่น ๆ
อาการ
ทารกที่มีภาวะ Gastroschisis จะมีช่องโหว่บริเวณผนังหน้าท้องใกล้กับสะดือ
ส่งผลให้ลำไส้โผล่ออกมา
ให้ทารกมีภาวะตัวเย็นเกิน
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
อัลตราซาวด์
การรักษา
การใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
การสังเกตและควบคุมอุณหภูมิของร่างกายทารกอย่างใกล้ชิด
การรับสารอาหารผ่านเส้นเลือด
การป้องกัน
ไม่มีวิธีการป้องกันได้โดยตรง แต่มารดาที่ตั้งครรภ์สามารถลดความเสี่ยงได้โดยการดูแลสุขภาพครรภ์ให้แข็งแรง รับประทานวิตามินเสริมตามคำแนะนำของแพทย์
โรคลำไส้กลืนกัน
สาเหตุ
ทางการแพทย์ยังไม่สามารถระบุสาเหตุที่แน่ชัดของการเกิด Intussuception ได้ แต่การเกิดโรคลำไส้กลืนกันในเด็กอาจมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัส
อาการ
กระสับกระส่าย
มือเท้าเกร็ง
ปวดท้องเฉียบพลัน
ท้องเป็นตะคริวเป็นพัก ๆ
การรักษา
แพทย์จะสวนแป้งแบเรียมและลมเข้าทางทวารหนัก เพื่อช่วยดันลำไส้ส่วนที่เคลื่อนตัวเข้าไปให้ออกมาจากลำไส้ส่วนที่กลืนกันอยู่
การป้องกัน
ยังไม่มีวิธีป้องกัน เนื่องจากไม่สามารถระบุถึงสาเหตุของการเกิดได้อย่างชัดเจน ผู้ปกครองจำเป็นจะต้องเฝ้าระวัง หากบุตรหลานมีอาการผิดปกติ ควรรีบเข้าพบแพทย์เพื่อทำการรักษาโดยด่วน
Omphalocele
เป็นความพิการแต่กำเนิดของผนังหน้าท้องบริเวณสะดือหรือ umbilical ring ที่มีอวัยวะโผล่ยื่นจากช่องท้องและมีถุงบางๆ ห่อหุ้ม
อาการ
อวัยวะในช่องท้องเคลื่อนออกมาทางฐานของสายสะดือ โดยมีเยื่อบุช่องท้อง
การวินิจฉัย
การใช้ prenatal ultrasonography เราสามารถวินิจฉัย omphalocele ได้ตั้งแต่ระยะ trimester ที่ 2 ในครรภ์มารดา
การรักษา
การผ่าตัดปิด omphalocele
ผ่าตัดปิดผนังหน้าท้อง
เกิดจากความบกพร่องของผนังหน้าท้อง (กล้ามเนื้อ fascia และผิวหนัง) ในแนวกลางตัว
สาเหตุ
กระบังลมเป็นอวัยวะที่กั้นระหว่างช่องอกและท้อง ทำหน้าที่ช่วยในการหายใจ โดยมีช่องเล็ก ๆ เปิดอยู่เพื่อเป็นทางให้หลอดอาหารผ่านเชื่อมไปยังกระเพาะอาหารในช่องท้อง
อาการ
แสบร้อนกลางอก
กลืนลำบาก
หายใจถี่
การวินิจฉัย
การเอกซเรย์ช่องท้องส่วนบนร่วมกับการกลืนแป้ง
การส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหาร (Upper Endoscopy)
การตรวจวัดการเคลื่อนไหวของหลอดอาหาร (Esophageal Manometry)
การรักษา
การใช้ยา
ใช้ในการบรรเทาอาการแสบร้อนกลางอกและกรดไหลย้อน
การผ่าตัด
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วย
หลีกเลี่ยงอาหารที่อาจกระตุ้นอาการของโรค อย่างเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนและอาหารที่มีปริมาณไขมันสูงหรือมีกรดสูง
การป้องกัน
ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม