Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทและกล้ามเนื้อ, image, image,…
บทที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
Hydrocephalus
ชนิดของ Hydrocephalus
Communicating Hydrocephalus : ภาวะน้ำคั่งใน
สมองที่เกิดขึ้นแต่ยังมีช่องทางให้น้ำไขสันหลังไหลผ่านได้
Non-Communicating Hydrocephalus: ภาวะน้ำคั่งในสมองที่มีการอุดกั้นจนไม่สามารถทำให้น้ำไขสันหลัง
ไหลเวียนผ่านช่องทางได้
พยาธิสรีรวิทยา
จาก 3 สาเหตุดังกล่าว ทำให้น้ำไขสันหลังคั่ง
อยู่ในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น โพรงในกระโหลกศีรษะจึงขยายกว้างขึ้นเพื่อรองรับน้ำไขสันหลังที่มากขึ้นและส่งผลให้ความดันใน
กระโหลกศีรษะสูงขึ้น อาจกดเบียดเนื้อสมองทำให้มีอาการทางระบบประสาท พัฒนาการล่าช้ำ
อาการ
: เด็กทารก – 2 ปี
ศีรษะโตมาก กระหม่อมโป่งตึง
อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง กระตุก
Setting sun sign
ไวต่อการกระตุ้น ร้องเสียงแหลม
Suture กว้าง เส้นเลือดดำขยาย
พัฒนาการทั่วไปช้ากว่าปกติ
Reflex และ Tone ของขา 2 ข้างไวกว่าปกติ
การเจริญเติบโตช้า
N/S, V/S ผิดปกติ เช่น ซึม เกร็ง ชัก pulse pressure กว้าง
อาการและอาการแสดงของ IICP
1.กระหม่อมโป่งตึง
2.ศีรษะโต HC >2 cm./เดือน แรกเกิด-3 เดือน
↑>1 cm./เดือน 3-6 เดือน
↑>0.5 cm./เดือน 6-12 เดือน
3.ปวดศีรษะ ตื่นนอน ปวดเพิ่มเมื่อ Valsalva maneuver (ไอ จาม
เบ่งถ่าย กลั้นลมหายใจ)
มีการปป.ของระบบประสาท กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย
N/S change สูญเสียความทรงจำ
อาเจียนตอนเช้า โดยไม่มีคลื่นไส
V/S เปลี่ยนแปลง -- BP ↑, PR+RR ↓
การมองเห็นเปลี่ยนแปลง ภาพซ้อน ตาเข setting sun
sign, Papilledema
การรักษา
การลดปริมาณของน้ำไขสันหลัง
การรักษา
การรักษาโดยการผ่าตัด
• ทำ Shunt 1. Ventriculo Peritoneum Shunt (V-P
Shunt)
Ventriculo Atrium Shunt (V-A
Shunt)
3 ส่วนส าคัญ ventricular catheter,
valve, distal catheter
.1 การลดการสร้าง CSF โดยการใช้ยา เช่น Acetazolamide
( Diamox ) ในกรณีไม่มีการอุดกั้นของ CSF
1.2 LP ร่วมกับการลดการสร้าง CSF
1.3 การให้ยาลดการคั่งของ CSF
-ยากลุ่ม osmotic diuretics - steroid drug
-ยากลุ่ม non osmotic diuretics -ยากันชัก
การพยาบาลก่อนผ่าตัดทำ Shunt
มีโอกาสเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง และเปลี่ยนแปลงทางประสาท
เนื่องจากมีการสะสมของน้้าไขสันหลังในกะโหลกศีรษะ
อาจเกิดภาวะขาดสารน้้าและอาหาร เนื่องจากดูดกลืนลำบาก อาเจียน
ความแข็งแรงของผิวหนังผิดไปจากคนปกติ เนื่องจากศีรษะโต
ความสัมพันธ์ระหว่างบิดามารดาและเด็ก อาจไม่เป็นไปตามปกติ
การพยาบาลหลังผ่าตัดทำ Shunt
อาจเกิดการติดเชื้อหรือมีภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากการผ่าตัดใส่ Shunt 2. อาจเกิดภาวะขาดสารน้ำและอาหาร เนื่องจากดูดกลืนลำบาก อาเจียน 3. ท่อ Shunt อาจเกิดการอุดตัน เนื่องจากการกดหรือการผ่าตัด 4. อาจท้าให้พัฒนาการล่าช้าเนื่องจากความเจ็บป่วย 5. บิดามารดามีความวิตกกังวล เนื่องจากขาดความเข้าใจในการดูแลบุตร
การดูแลเด็กที่มีปัญหา Hydrocephalus
ป้องกันอันตรายจาก IICP - สังเกตติดตามภาวะ IICP เช่น วัด H.C. ทุกวัน สังเกตกระหม่อม พฤติกรรม
ไวต่อการกระตุ้น ซึม ดูดนมไม่ดี ร้องเสียงแหลม
-- ลดภาวะ IICP จัดท่าศีรษะสูงเล็กน้อย
ป้องกันอันตรายของคอและมีแผลกดทับจากศีรษะโตมาก --จัดท่าพลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง --ประคองศีรษะขณะอุ้มหรือเปลี่ยนท่า--ตรวจสอบและดูแลผิวหนัง
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการทำShunt (เช่น อุดตัน,ท่อ
ระบายเลื่อนหลุด,ติดเชื้อ,น้ำไขสันหลังลดเร็วเกินไป
อาจได้รับอาหารไม่พอจากการดูดกลืนไม่ได้
-จัดท่าศีรษะสูง
ให้อาหารทีละน้อย แต่บ่อยครั้ง
ระวังการให้น้ำ
บันทึก I/O
กลุ่มอาการชัก
(Seizure Disorders)
• การเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว ประสาทสัมผัส การรับรู้ผิดปกติ
จากคลื่นสมองทำงานผิดปกต
• Convulsion – กล้ามเนื้อหด คลายตัวอย่างรวดเร็ว นอกเหนืออำนาจจิตใจ
• Seizure - การชักกระตุก เกิดขึ้นทันทีทันใด
• Epilepsy – การชักซ้้าๆกันหลายๆครั้ง เป็นเรื้อรัง โดยมีความผิดปกติ
ของ neuronal discharge ของ cerebrum
สาเหตุ
ทารก
Birth injury
ความผิดปกติของเมตาโบลิซึม
-BS ต่ำ, Ca ต่ำ
เด็กเล็ก
Genetic
Congenital anormalies
อันตรายหลังคลอด
เด็กโตและวัยรุ่น
เนื้องอกในสมอง
Genetic
โรคหลอดเลือดสมอง
อาการ :
เกิดจากมีความผิดปกติ
ของประจุไฟฟ้าในสมอง ทำให้เซลล์มีความไวต่อการกระตุ้น
สาเหตุของอาการชักที่พบบ่อยในเด็ก
ภาวะติดเชื้อที่กะโหลกศีรษะ เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ สมองอักเสบ
ภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะ
ภาวะผิดปกติทาง metabolism เช่น Hypocalcemia, Hypoglycemia
ภาวะผิดปกติทางไต เช่น Uremia
เนื้องอกในกะโหลกศีรษะ
โรคบาดทะยัก
ภาวะไข้สูงในเด็กเล็ก
ความผิดปกติของสมองโดยกำเนิด เช่น Hydrocephalus
โรคลมบ้าหมู/โรคลมชัก (Epilepsy)
อาการชักเฉพาะที่ (Partial seizure)
1.1 Simple partial seizure ผู้ป่วยไม่เสียการรู้ตัวขณะที่มีอาการชัก อาจ
แบ่งเป็นกลุ่มตามอาการผิดปกติ
• ด้านการเคลื่อนไหว เช่น jerking, rigidity, spasm, head turning
• การรับความรู้สึก คือมีความรู้สึกผิดปกติ เช่น มีการได้กลิ่นแปลกๆ ได้ยินเสียง การมองเห็น กานได้กลิ่น รส
• ระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น มีอาการคลื่นไส้อาเจียน หน้าแดง เหงื่อออก ขนลุก
• ด้านอารมณ์จิตใจ (psychic symptom) เช่นรู้สึกกลัวหรือโกรธ มองเห็น
หรือได้ยินเสียงทั้งที่ไม่มีอยู่จริง (hallucination) รู้สึกคุ้นเคยทั้งที่ไม่เคยไป
1.2 Complex partial seizure ผู้ป่วยจะเสียการรู้ตัวขณะที่มีอาการชัก โดยผู้ป่วยอาจรู้ตัวดีมาก่อนและตามด้วยอาการไม่
รู้ตัว หรือมีการเสียการรู้ตัวตั้งแต่แรก
อาการชักทั้งตัว (Generalized seizure)
2.1 Generalized tonic-clonic seizure ผู้ป่วยจะมีอาการหมดสติเกร็งทั้งตัวตามด้วยการกระตุกเป็นจังหวะ
2.2 Absence ผู้ป่วยมีอาการเหม่อ ตาลอย อาการจะเกิดขึ้นและสิ้นสุดอย่างรวดเร็ว
2.3 Myoclonic มีลักษณะกระตุกเป็นระยะเวลาสั้นๆ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วคล้ายสะดุ้ง (sudden, brief muscle contraction)
2.4 Clonic มีลักษณะกระตุกเป็นจังหวะ
2.5 Tonic มีลักษณะกล้ามเนื้อเกร็งอย่างรุนแรง
2.6 Atonic มีลักษณะสูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อที่เกิดขึ้นทันที
Unclassified epileptic seizure
Unclassified epileptic seizure เป็นการชักที่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้เนื่องจากข้อมูลไม่พอเพียงหรือเนื่องจากการไม่สมบูรณ์ของสมอง เช่นการชักชนิด subtle ใน neonatal seizure เป็นต้น
ชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
การชักที่พบร่วมกับ
การมีไข้สูง >38.4ºC โดยไม่มีการติดเชื้อใน
ระบบประสาท และผู้ป่วยไม่เคยชักโดยไม่
มีไข้มาก่อน
สาเหตุ:
ไม่แน่ชัด
พันธุกรรม
ติดเชื้อในระบบต่างๆที่ไม่ใช่ระบบประสาท เช่น การติดเชื้อในระบบ
ทางเดินหายใจ ทางเดินอาหารและทางเดินปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
เด็กจะมีไข้สูง ตัวร้อน หน้าแดง มึนงง สับสน แล้วมีอาการชัก
ลักษณะการชักอาจจะตัวแข็งหรือตัวอ่อน ชักเกร็งหรือกระตุกไม่
รู้สึกตัว กล้ามเนื้อที่แขนขา หน้า และส่วนต่างๆของร่างกายบิดเกร็งและสั่น ตาจะกลอกไปด้านหลัง ไม่สามารถควบคุมปัสสาวะ
และอุจจาระได้ อาจมีหายใจล าบากหรือหยุดหายใจได้ ทำให้เขียว ส่วนใหญ่ใช้เวลาชัก < 1 นาที บางทีถึง 5 นาทีได้ และอาการชักมัก
เกิดขึ้นชั่วโมงแรกที่เริ่มมีไข้ ภายหลังการชักเด็กจะนอนหลับเนื่องจากสมองเหนื่อยล้า จากนั้นจะกลับสู่ภาวะปกต
การวินิจฉัยกลุ่มอาการชัก
1.การซักประวัติ: - ชนิดและสาเหตุของการชัก
-อายุ
การมีไข้
การติดเชื้อในระบบต่างๆของร่างกาย
-ประวัติเกี่ยวกับสมอง
-ประวัติการชัก
-ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
ประวัติการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
การตรวจร่างกาย
ตรวจบันทึกการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ หน้าที่ของเส้นประสาทสมอง
-ตรวจก าลังกล้ามเนื้อ การรับความรู้สึก รีเฟลกช์การทรงตัว อาการชักที่เกิดในระหว่างตรวจร่างกาย
สังเกตการกลอกตา การหันศีรษะ
ระดับความรู้สติ ขนาดรูม่านตา
การขับถ่าย อุจจาระ ปัสสาวะ
อาการหลังชัก เมื่อผู้ป่วยฟื้นควรประเมินสภาพร่างกายและจิตใจด้วย เช่น
อาการปวดศีรษะ แขนขาอ่อนแรง สับสน ความจำ หรืออาการพูดไม่ได้
การรักษาชัก
ผ่าตัด กรณีเนื้องอก 2. ใช้ยา - DZP
Phenobarbital
Dilantin - Paraldehyde
จนกว่าจะหยุดชัก 2 ปี การลดยาต้องค่อยๆลด
ห้ามหยุดยาเอง
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีอาการช
ประเมินและบันทึกลักษณะการชักลักษณะของใบหน้า ตา ขณะชัก ระดับ
การรู้สติ ของผู้ป่วยก่อนระหว่างและหลังการชักระยะเวลาที่ชักทั้งหมดจำนวนครั้งหรือความถี่ของการชักทั้งหมดเพื่อวางแผนการพยาบาลได้
ถูกต้องและรวดเร็ว
ขณะชักจัดให้ผู้ป่วยตะแคงหน้าเพื่อให้น้ำลายไหลออกจากปาก ไม่สำลัก
เข้าไปในทางเดินหายใจ และลิ้นไม่ตกอุดหลอดลม รวมทั้งดูแลทางเดินหายใจให้โล่งอยู่เสมอ
ดูแลดูดเสมหะออกจากปากและจมูกบ่อยๆเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ใช้ผ้านิ่มๆเช่นผ้าห่มหรือผ้าเช็ดตัวหนุนบริเวณ
ใต้ศีรษะเพื่อป้องกันศีรษะกระแทกกับพื้นเตียง
Observe vital signs ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินลดลง อุณหภูมิและการ
หายใจ
ดูแลเช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำอุ่นนาน 10–15 นาที ทุก 2 ชั่วโมงเวลามีไข้สูง
เกิน 38 องศาเซลเซียส เพราะไข้สูงจะกระตุ้นให้เกิดการชักซ้ำได้อีก
ดูแลสิ่งแวดล้อมข้างเตียงให้สะอาดเหมาะแก่การพักผ่อนเผื่อลดเมตาบอ
ลิซึมของร่างกาย
ดูแลให้ Oxygen, สารน้ำ, และยาตามแผนการรักษา
ภาวะติดเชื้อ
ในระบบประสาท
1.เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
สาเหตุ
– เชื้อ bact. Virus รา ปรสิต เจริญและแบ่งตัวที่ subarachnoidspace
อาการและอาการแสดง
1.อาการแสดงการระคายเคืองเยื่อหุ้มสมอง
2.อาการแสดงของภาวะ IICP
3.Poor feeding
4.Fever
อาการและอาการแสดง
ในเด็กแรกเกิดอายุไม่เกิน 1 เดือน อาการที่พบบ่อยคือ
-มีไข้ มักมีไข้สูง แต่อาจมีไข้ต่ำได้
-เด็กกระสับกระส่าย ร้องโยเย ร้องไห้เสียงสูง
-ไม่ดูดนม อาจมีอาเจียน
-อาจชัก
-บริเวณกระหม่อมโป่งนูนจากการเพิ่มความดันในสมอง
การวินิจฉัยโรค
-การซักประวัติ
-การตรวจร่างกาย
-การท้า CT scan
-การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-การเจาะหลัง
การรักษา
1.การรักษาเฉพาะ
-ยาปฏิชีวนะ
-ยาลดการหลั่งสารที่ท้าให้อักเสบ : Dexamethasone
2.การรักษาประคับประคอง
-ลดไข้
-ให้ออกซิเจน
3.ให้ยาระงับชัก
-สารน้ำและเกลือแร่ 75-80%
-NPO ถ้าไม่รู้สึกตัว
การป้องกัน
ฉีดวัคซีนป้องกันเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบที่สาคัญที่สุด คือ การป้องกันการติดเชื้อซึ่งคือ การรักษาสุขอนามัยพื้นฐาน
-หลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับผู้ป่วย
-รู้จักใช้หน้ากากอนามัย
-ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆ โดยเฉพาะก่อนกินอาหารและขหลังจากเข้าห้องน้ำ
-กินอาหารมีประโยชน์ 5 หมู่ และออกกำลังกายตามควร
ไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)
สาเหตุ
การติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย โปรโตซัว เชื้อรา
**เชื้อไวรัสที่สาคัญคือ เชื้อ Japanese B. Encephalitis viruses
**ไวรัสชนิดนี้ : ยุงราคาญ หมู
-สารเคมี ตะกั่ว-พบเป็นภาวะแทรกซ้อนจากหัด คางทูม อีสุกอีใส
การรักษา
ระยะแรก
-ลดภาวะสมองบวม -จำกัดน้ำ ให้ยาขับปัสสาวะ
-ให้ steroid, ATB
-ให้ยาควบคุมการชัก
-ให้ยาลดไข้
-ventilator
ระยะหลัง
-Rehabilitation
-รักษา ควบคุมอาการชัก
-แก้ไขความพิการ
-ดูแลภาวะปัญญาอ่อน
การป้องกัน
-ฉีดวัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบ Japaness Encephalitis B (JE) 3 เข็ม เริ่มตอนเด็กอายุ 1 ปี
-ไม่ให้ยุงราคาญกัด
-ไม่เลี้ยงสัตว์พวกหมูไว้ใต้ถุนบ้าน
ความพิการที่หลงเหลือ
-ปัญญาอ่อน -ชัก -Motor dysfunction -พฤติกรรม ปป.
อุบัติการณ์
พบมากในเด็กอายุ 5-15 ปี
อาการ
-ปวดศีรษะ -อาเจียน -มีไข้ต่้าๆ -มีพฤติกรรม ปป. -ไม่มีแรง -คอแข็ง -ชัก อาการทางประสาทเฉพาะที่ Coma= Death
การวินิจฉัย
1.ประวัติและอาการ
2.ผล Labs - CSF culture
-CBC , H/C
Stool c/s
Nasophalyngeal
secretion c/s
สมองพิการ (Cerebral palsy : CP)
สาเหตุ
เกิดจากการทำลายเนื้อสมองในขณะที่เด็กมีการเจริญเติบโต แล้วท้าให้เกิดสมองพิการได้
ระยะตั้งครรภ์ มารดา ทารก เช่น ขาดสารอาหาร ได้รับรังสีช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ ติดเชื้อ ครรภ์เป็นพิษ HT เป็นต้น
2.ระยะคลอด เช่น ได้รับอันตรายจากการคลอด คลอดยาก สมองขาดO2 สำลักน้ำคร่ำ การอุดกั้นทางเดินหายใจ เป็นต้น
3.ระยะหลังคลอด เช่น ได้รับการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ ชัก น้ำตาลหรือ
Ca ในเลือดต่ำ
พยาธิสภาพ
ส่วนใหญ่สมองมีขนาดเล็ก สมองฝ่อ โพรงสมองใหญ่ขึ้นเนื่องจากสมองน้อย
การวินิจฉัย
การซักประวัติอาจพบปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดสมองพิการตั้งแต่ระยะก่อนคลอด ขณะคลอด และหลังคลอด
การตรวจร่างกายพบความผิดปกติของท่าทางและการเคลื่อนไหว
การตรวจพิเศษ เช่น ultrasound, CT scan, MRI
การรักษา
การลดความตึงตัวและการเกร็งของกล้ามเนื้อ
การทากายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อแขน ขา หรือลาตัวอย่างสม่ำเสมอ
การกระตุ้นเพื่อให้สมองส่วนต่าง ๆ ได้พัฒนาทั้งการมองเห็น การได้ยิน การพูด การสัมผัส และการรับประทานอาหาร
การแก้ไขภาวะผิดปกติของการรับรู้ที่สำคัญ เช่น การมองเห็น การได้ยิน
การแก้ไขความผิดปกติของระบบประสาท เช่น การแก้ไขการชัก ควบคุมพฤติกรรมที่ผิดปกติเองในการทากิจวัตรประจาวัน
อาการและอาการแสดง
แบบกล้ามเนื้อหดเกร็ง (spasticity) เป็นแบบที่รุนแรงและพบมากที่สุด 2. Extrapyramidal cerebral palsy (athetoidsis) เป็นการเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น ไม่สามารถควบคุมได้ แขนขาเคลื่อนไหวไม่สัมพันธ์กันทำให้การทรงตัวไม่ดี
Ataxia cerebral palsy มีอาการผิดปกติของ cerebellum จะเดินเซ ล้มง่าย ควบคุมการทรงตัวไม่ได้ 4. Mixed type เป็นแบบที่มีอาการร่วมกันระหว่างแบบกล้ามเนื้อหดเกร็งและแบบ athetoidsis