Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ระบบหัวใจ และไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ระบบหัวใจ และไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต Hypertensive crisis
สาเหตุ
1.หยุดยาลดความดันทันที
2.Acte or chronic renal disease 3.Exacerbation of chronic hypertention 4.ใช้ยาบางชนิด เช่น ยาคุม
อาการ
ขึ้นอยู่กับ vascular injuryc]t end organ damage
กลุ่มโรคหลอดเลือดหัวใจ
chest pain
เหนื่อยง่ายเวลาออกแรง
ไตวายเฉียบพลัน
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
เจ็บอก แบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่
น้ำท่วมปอด
ภาวะเลือดเซาะ Aortic dissection
ขั้นสูงมีอาการทางสมอง (hypertensive encephalopathy)
ปวดศรีษะ มองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
การตรวจ
ร่างกาย
เกิดจาก TOD
โรคหลอดเลือดสมอง
แขนขา ชา/อ่อนแรงครึ่งซีก , blurred vision ,ความรู้สึกตัวผิดปกติ coma
Retina
พบ Papilledema
ภาวะ increased intracranial pressure
พบ Cotton wool spots and hemorrhages
nerves ถูกทำลาย +การแตก
chest pain = อาการ aortic dissection
LAB
CBC
Creatinine และ eGFR
12 Lead ECG +chest X ray
CT
การรักษา
รักษาทันที icu +ให้ยาลดระดับความดันโลหิตทางหลอดเลือด
ยาลดความดันโลหิตที่ดีในห้องฉุกเฉินควรมี
คุณสมบัติดังนี้คือ ออกฤทธิ์เร็ว ระยะเวลาการออกฤทธิ์สั้น
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
เสี่ยงเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ
วิตกกังวล
พร่องความรู้
ภาวะที่มีความดันโลหิตสูงเฉียบพลันสูงกว่า 180/120 mmHg +มีการทำลายอวัยวะ (target organ damage :TOD)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ Cardiac arrhythmias
AF
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
อัตราการเต้น
60-100ครั้ง/นาที = controlled response >100ครั้ง/นาที = rapid ventricular response
ประเภท
Paroxysmal AF
เกิดเป็นครั้งคราว ระยะเวลาสิ้นสุดอาจเป็นนาที ชั่วโมง หรือ อาจเป็นถึง 7 วัน สามารถหายไปได้เอง
Persistent AF
มากกว่า 7 วัน ถึง น้อยกว่า 1 years ไม่หายไปเอง ใช้ยา
Recurrent AF
ติดต่อกันกว่า 1ปี รักษาแต่ไม่หาย ไม่เคยรักษา
Recurrent AF
เกิดซ้ำมากกว่า 1ครั้ง
Lone AF
อายุ<60 ปี ไม่มีความผิดปกติหัวใจ หลอดเลือด
อาการ
ใจสั้น อ่อนเพลีย เหนื่อเวลาออกแรง คลำชีพจรข้อมือได้เบา
2.VT
4 ประเภท
1.Nonsustained VT
เกิดต่อเนื่อง < 30 s
2.Sustained VT
ต่อเนื่อง > 30 s +มีผลระบบไหลเวียนลดลง
3.Monomorphic VT
ลักษะ QRS complex รูปแบบเดี่ยว
4.Polymorphic VT or Torsade
หลากหลาย
ชนิดที่ ventricleเป็นจุดกำเนิด
150-250ครั้ง/นาที
สาเหตุ
MI , Rheumatic heart,ไฟฟ้าดูด ,พิษยาDIgitalis toxicity
อาการ
ใจสั้น BPต่ำ หน้ามืด หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
3.VF
เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่ำเสมอ ไม่แก้ไขหัวใจหยุดเต้นทันที
สาเหตุ
1.Hypovolemia
2.Hypoxia
3.Hydrogen ion
4.Hypokalemia
5.Hyperkalemia
6.Hypothermia
7.Tension pneumothorax
8.Cardiac tamponade
9.Toxins
10.Pulmonary thrombosis
11.Coronary thombosis
อาการ อาการแสดง
เกิดทันที = หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย
การพยาบาล
อุปกรณ์+ยา ทำCPRทันที
สิ่งสำคัญ ช๊อกไฟฟ้า +กดหน้าอก
ภาวะช็อก Shock
5 ประเภท
Hypovolemic shock
สาเหตุ
สูญเสีย เลือด/สารน้ำ
เกิดจากการลดลงของปริมาณเลือด/สารน้ำในร่างกาย(>30-40%)
Cardiogenic shock
เกิดจากหัวใจไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปส่วนต่างๆ มีปริมาตรเลือดไหลเวียนเพียงพอ
สาเหตุ
ความผิดปกติ
-กล้ามเนื้อหัวใจ
-ลิ้นหัวใจ
-หัวใจเต้นผิดจังหวะ
Septic shock
หลอดเลือดส่วนปลายขยายเกิดการลดลงของต้านหลอดเลือด SVR + shunt
สาเหตุ
1.Septic shock
2.Anaphylactic shock
Hypoadrenal/adrenocotical shock
4.Obstructive shock
5.Neurogenic shock
ความผิดปกติทางพลศาสตร์การไหลเวียนโลหิต
สาเหตุ
ระบบประสาทซิมพาธิกพร่อง
อาการและอาการแสดง
ประสาทส่วนกลาง
กระสับกระส่าย ซึม หมดสติ สมองตาย
หัวใจ หลอดเลือด
ชีพจรเบาเร็ว ผิดจังหวะ กบ้ามเนื้อขาดเลือด หลอดเลือดปลายหด ผิวหนังเย็นซีด
หายใจ
เร็วลึก ออกซิเจนต่ำ ล้มเหลว
ไต
ปัสสาวะออกน้อย
เลือด ภูมิคุ้มกัน
แข็งตัวผิดปกติ ลิ่มเลือดกระจาย เม็ดเลือดขาวทำงานบกพร่อง
ต่อมไร้ท่อ
น้ำตาลสูง เลือดเป็นกรด
การรักษา
จุดประสงค์ เพื่อแก้ไขพยาธิ
เกิดการไหลเวียน ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
1.แก้ระบบไหลเวียน เป้าหมาย MAP>65 mmHg
ให้สารน้ำ
2.ยาผลบีบหัวใจ หดตัวหลอดเลือด
2.แก้ไขพร่องออกซิเจน
3.เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุ
แกไขภาวะกรดด่าง
ข้อวินิจฉัย
1.การกำซาบเนื้อเยื่อไม่มีประสิทธิภาพ
2.ภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน
3.ปริมาณเลือดออกจากหวใจต่อนาทีลดลง
4.วิตกกังวล
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน AHF
กลุ่มอาการ ที่มีเกิดจาก ความผิดปกติในการทำงานของหัวใจซึ่งอาจผิดปกติที่โครงสร้าง หรือการทำหน้าที่ของหัวใจ
มักพบในผู้ป่วยที่เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
อาการ อาการแสดง
เหนื่อยหอบนอนราบไม่ได้ อ่อนเพลีย บวมแขนขา
ความดันโลหิตปกติหรือต่ำสูง ได้ยินเสียงปอดผิดปกติcrepitation
น้ำในเยื่อหุ้มปอด พบหัวใจโต ตับโต
6 รูปแบบ
Acute decompensated HF
เกิดเฉียบพลัน อาการไม่รุนแรง
2.Hypertensive acte HF
มีปอดบวมน้ำ มีความดันสูงรุนแรงร้าว หัวใจล่างซ้ายดี
Pulmonary edema
มีอาการแสดงปอดบวมน้ำ ออกซิเจนต่ำกว่า ร้อยละ90
Cardiogenic shock
ร่างกายมีPoor tissue perfusion แม้แก้ไขภาวะขาดน้ำแล้ว
High output failure
CO สูงกว่าปกติ เต้นเร็ว ปลายมือเท้าอุ่น มีภาวะน้ำท่วมปอด
Right HF
COลดล่าง หัวใจด้านขวาทำงานล้มเหลว
การรักษา
1 การลดการทำงานของหัวใจได้แก่ intra aortic balloon pump การให้ออกซิเจนการกระตุ้นใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจการขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน
2 การดึงน้ำและเกลือแร่ที่ค้างออกจากร่างกาย
คือให้ยาขับปัสสาวะจำกัดสารน้ำจะระบา
การใช้ยารักษา
รักษาสาเหตุ เช่น
ได้แก่การขยายหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี
การเปลี่ยนลิ้นหัวใจโคโรนารี
การรักษาภาวะติดเชื้
การประเมิน
1 การซักประวัติและตรวจร่างกายประเมินอาการทางคลินิกอาการเจ็บอก เหนื่อยหอบ การบวมขึ้น คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
2 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC ABG
3.ตรวจพิเศษ ได้แก่ CXR ,echocardiogram. CT,CAG
ข้อวินิจฉัย
1.เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
2 เสี่ยงภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
3ได้รับอาหารอาหารและพนักงานไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
4.มีความต้องการพลังงานมากขึ้นเนื่องจากเจ็บป่วยวิกฤตหายใจหอบเหนื่อยเบื่ออาหาร