Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ระบบทางเดินอาหาร :star:, image, image,…
บทที่ 6การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ระบบทางเดินอาหาร :star:
อุจจาระร่วง (diarrhea) :<3:
ชนิดของอุจจาระร่วง
(acute diarrhea ) อุจจาระร่วงเฉียบพลัน ใน 24ชม
หายไปภายใน 2สัปดาห์
(persistent diarrhea) เกิดจากการติดเชื้อในลำไส้
นานเกิน 2สัปดาห์
( chronic diarrhea) ถ่ายอุจจาระร่วงติดต่อกันทุกวัน
นานมากกว่า 3สัปดาห์
สาเหตุ
เชื้อไวรัส rotavirus และ ขาดเอนไซม์และน้ำย่อยแลคเตสย่อยแลคโตสในนมไม่ได้
พยาธิสภาพ
โรคอุจจาระร่วงเกิดจาการเคลื่อนที่ และการสร้างน้ำ อิเล็คโทรลัยท์ในลำไส้ผิดปกติซึ่งเกิดจากการติดเชื้อ การดูดซึมบกพร่อง
อาการอาการเเสดง
ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำ3ครั้งต่อวันหรือมากกว่า หรือมีมูกเลือดปูนอย่างน้อย1 ครั้ง
มีอาการภาวะการขาดน้ำ
การรักษา
1.รักษาภาวะขาดน้้ำ
1.1 ระยะทดแทนน้ำ(rehydration therapy)
1.2 ระยะคงไว้ซึ่งความสมดุลของสารน้ำและเกลือแร่
2.กำจัดเชื้อออกจากลำไส้
ยาลดการหลั่งน้ำและเกลือแร่จากลำไส้
ยาที่มีฤทธิ์ดูดซับน้ำหรือสารพิษ
3.ป้องกันมิให้เกิดภาวะขาดน้ำ
ภาวะอักเสบของกระเพาะอาหาร (Gastritis) :<3:
สาเหตุ
การติดเชื้อ H. pylori
การรับประทานยา NSAID
ความเครียด (stress)
รับประทานอาหารรสจัด
อาการและอาการเเสดง
ปวดแสบบริเวณลิ้นปี่ อาหารไม่ย่อย อาเจียน
เบื่ออาหารและอาจผอมลง
การตรวจทางห้องปฎิบัติการและการตรวจพิเศษ
รับประทานอาหารไม่ตรงเวลา และตรวจร่างกายพบน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าปกติ
การรักษา
acute gastritis
1.Alum milk 30 mg q 2 ชม. (ช่วยเพิ่ม pH)
2.กรณีกินไม่ได้ให้สารน้ำทดแทน มีเลือดออกให้เลือด
คลื่นไส้อาเจียนให้งดอาหารและน้ำทางปาก เมื่อดีขึ้นให้ กินอาหารเหลว
chronic gastritis
ยากลุ่ม Antacid เพื่อลดอาการระคายเคืองจากกรด
โรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ (Gastroenteritis) :<3:
โรคที่เกิดจากความผิดปกติระบบทางเดินอาหารซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียไวรัสที่พบบ่อยที่สุด คือ ไวรัสโรต้า
อาการและอาการแสดง
อุจจาระร่วงเฉียบพลัน
คลื่นไส้อาเจียน
ปวดท้องอย่างรุนแรง
ไข้สูง ครั่นเนื้อครั่นตัว หนาวสั่น
การตรวจทางห้องปฎิบัติการและการตรวจพิเศษ
ถ้าเป็นรุนเเรงจะมีภาวะขาดน้ำ และตรวจเลือด CBC พบ WBC Neutrophil สูง
การรักษา
รักษาตามอาการ เช่น รักษาภาวะขาดน้ำ ให้ยาลดไข้ ในเด็กที่มีภูมิต้านทาน ทารกแรกเกิดหรือเด็กมีภาวะ
Septicemia Septicemia จำเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปัญหาที่ 1 : เสียสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตทรไลต์จากการสูญเสียทางอุจจาระ และอาเจียนเนื่องจากการดูดซึมน้ำของลำไส้ขาดประสิทธิภาพ
การประเมิน
เด็กตื่นตัวดี
น้ำหนักไม่ลด มีความตึงตัวของผิวหนังปกติ
ปัสสาวะออกมากกว่า 1มิลลิลิตร/กิโลกรัม/ชั่วโมง
กิจกรรมพยาบาล
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ทดแทนตามแผนการรักษา
2.ประเมินภาวะขาดน้ำ
แนะนาวิธีเตรียมโออาร์เอสใช้เองที่บ้าน
น้ำตาล 2ช้อนโต๊ะ +เกลือ 1/2ช้อนชา + น้ำต้มสุกที่เย็นแล้ว 1ขวดกลม (750มิลลิลิตร)
*
ลำไส้ใหญ่โป่งพองแต่กำเนิด(Hirschsprung's) :<3:
ลำไส้ส่วนที่ไม่มีเซลล์ประสาทอุดกั้นทางเดินอาหาร ส่งผลต่อการถ่ายอุจจาระ แต่ลำไส้ส่วนต้นยังทำงานปกติ
มีการเพิ่มการเคลื่อนไหวแบบ peristalsis มากขึ้น ทำให้ลำไส้หนาตัวและโป่งพอง
อาการและอาการแสดง
1.ถ่ายขี้เทาช้า หรือไม่ถ่ายขี้เทาหลังคลอด 24 ชม. ใช้สายยางสวนสีแดงขนาด Fr.Fr.12-14
ทางรูทวารหนักดึงสายสวนออก พบขี้เทาพร้อมผายลม
ถ่ายยาก อุจจาระมีก้อนเล็กแข็งท้องผูก
การวินิจฉัยโรค
1.barium enema
ตัดชิ้นเนื้อ rectum rectum ไปตรวจ
การรักษา
การรักษาประคับประคองสวนล้างลำไส้ด้วย normal saline
การผ่าตัดเอาลำไส้ใหญ่มาเปิดที่หน้าท้อง (colostomy)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะท้องอืด ท้องผูก จากการอุดตันของลำไส้
การประเมิน
ไม่มีการแตกทะลุของลำไส้
อาการท้องอืดและท้องผูกลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
2.ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีกากน้อย โปรตีนและพลังงานสูง
สวนล้างลำไส้ใหญ่ด้วยน้ำ 0.9% N.S.S อุณหภูมิ 40.5 c ทารกแรกเกิดสอดสายสวนลึก 4-5 ซม.ใช้ 20 ml./kg ทารกหรือเด็กโต ลึก 8-10 ซม.ใช้ 50 ml./kgสวนเข้าไปแล้วดูดกลับ วัดและบันทึกปริมาณน้ำที่เข้าและออกจากการสวนลำไส้
ลำไส้กลืนกัน (intussusception) :<3:
ลำไส้ส่วนต้นมุดตัวเข้าไปสู่ lumen ลำไส้ใหญ่ที่อยู่ถัดไปด้านปลาย ลาไส้แคบลงจนปิดสนิท ทำให้ทางเดินอาหารอุดกั้น
อาการอาการเเสดง
ปวดท้องแบบบิด (colicky)เด็กจะกรีดร้อง งอเข่า ยกเท้าสูง ตัวเกร็ง
อาเจียนตลอด ช่วงแรกเป็นเศษอาหารต่อมาเป็นน้ำย่อยสีน้ำดีปน
ถ่ายอุจจาระเป็นมูกปนเลือด เหมือนแยม
หรือคล้ายเยลลี่
การวินิจฉัยโรค
จากประวัติ อาการและอาการแสดง ตรวจร่างกาย ถ่ายภาพรังสี สวนแบเรียมทางทวารหนัก ทำอัลตราซาวนด์
การรักษา
การรักษาโดยไม่ผ่าตัด ทำhydrostaticreduction โดยการสวนแบเรียมหรือ NSS เข้าทางทวารหนัก ดันให้ลำไส้ให้หลุดออกจากกัน
2.การรักษาโดยการผ่าตัด เปิดหน้าท้องแล้วใช้มือรูด (milking)จากด้านปลาย ดันส่วนหน้าให้ถอยออกไปจนลำไส้หายกลืนกัน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปัญหาที่ 1 : มีโอกาสเกิดภาวะเสียสมดุลของน้ำและอิเล็กโทรไลต์เนื่องจากการอาเจียนเลือดออกในลาไส้และลำไส้ลดการดูดซึม
การประเมิน
สัญญาณชีพเหมาะสมกับวัย, ไม่มีอาการและอาการแสดงของการขาดน้ำ, Hematocrit ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้งดน้ำงดอาหาร และให้สารน้ำและอิเล็กโทรไลต์เลือดตามแผนการรักษา
2.สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะขาดน้ำ เสียเลือด ภาวะช็อคโดยการวัดและบันทึกสัญญาณชีพ
ไส้เลื่อนกะบังลม (Diaphragmatie) :<3:
เกิดการกดเบียดปอดของทารกในครรภ์ที่กาลังเจริญเติบโต เกิดภาวะปอดเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์
อาการและอาการแสดง
2.ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย หลังเกิดมีอาการหายใจลำบาก(respiratory distress)หายใจเร็ว หอบ เขียว ใช้กล้ามเนื้อระหว่างช่องซี่โครงช่วยในการหายใจ
1.เวลาร้องแล้วตัวเขียวเพราะลมเข้ากระเพาะอาหารขยายกดปอด
การรักษา
การดูแลรักษาก่อนผ่าตัด
1.1. ดูแลเรื่องอุณหภูมิกายต่ำ การขาดออกซิเจน หรือร่างกายมีภาวะเป็นกรดร่วมถึงปัญหาอื่นๆ
การผ่าตัด ผ่านทางช่องท้องดึงอวัยวะในช่องท้องกลับมา เย็บซ่อมแซมกะบังลม
3.การดูแลหลังการผ่าตัด ใช้เครื่องช่วยหายใจต่อไประยะหนึ่ง เพื่อป้องกันภาวะ PFC
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปัญหาที่ 1: มีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากปอดเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์ และมีการไหลเวียนเลือดลัดวงจรจากขวาไปซ้าย
การประเมิน
สัญญาณชีพปกติ ทารกผิวสีแดงดี O2 Sat. Sat ไม่ต่ำกว่า 95%
กิจกรรมทางการพยาบาล
2.สังเกตและบันทึกลักษณะการหายใจ สีผิว สัญญาณชีพO2 Sat. Sat.
1.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ และเครื่องช่วยหายใจตามแผนการรักษา
ความพิการของผนังหน้าท้องแต่กำเนิด(Omphalocele) :<3:
Omphalocele เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ไม่มีกล้ามเนื้อหน้าท้อง และผิวหนัง สายสะดือจะติดอยู่กับถุง
อาการและอาการแสดง
ทารกมีถุง omphaloceleติดอยู่กับผิวหนังกลางท้อง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 -10 ซม.ลักษณะเป็นรูปโดม ผนังบางมองเห็นอวัยวะภายใน มีสายสะดือติดอยู่กับถุง มักมีความพิการอื่นร่วมด้วย
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง โดยใช้povidine povidineทำที่ผนังถุง ทำให้เยื่อบุผิวของผิวหนังงอกมาปกคลุม ใช้เวลานาน 2-4เดือน
ความพิการของผนังหน้าท้องแต่กำเนิด(Gastroschisis) :<3:
เป็นความพิการของผนังหน้าท้อง เกิดจากขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อจึงไม่เจริญ ผนังหน้าท้องแยกออกจากกัน สายสะดือติดกับผนังหน้าท้องในตำแหน่งปกติ ไม่พบถุงหุ้ม (sac )
อาการและอาการเเสดง
ทารกมีน้ำหนักตัวน้อย
• ลำไส้สั้น ลำไส้ผิดรูปตีบหรือตัน
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง โดยใช้povidine povidineทำที่ผนังถุง ทำให้เยื่อบุผิวของผิวหนังงอกมาปกคลุม ใช้เวลานาน 2-4เดือน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปัญหาที่ 1: มีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำและสูญเสียน้ำ เนื่องจากทารกมีพื้นที่ผิวกายสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น และทารกมักเป็นทารกเกิดก่อนกำหนด
การประเมิน
อุณหภูมิกายอยู่ในระดับปกติ 36.5-37.5องศาเซลเซียส ไม่มีอาการและอาการแสดงของการขาดน้ำ
กิจกรรมทางการพยาบาล
ป้องกันการสูญเสียความร้อน keep warm
2.ดูแลบริเวณรอยโรค
3.ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ตามแผนการรักษา
นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี
UDA6280003