Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา, นางสาว วิศรุตา…
บทที่ 6 การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
1) แนวคิด หลักการและความสำคัญ
ความสำคัญของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาโดยอาศัยหลักการและแนวคิดการบริหารจัดการโดยใช้วงจรคุณภาพ
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
กำหนดกรอบค.สำเร็จ แนวทางดำเนินการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล
ดำเนินงาน 3-5 ปี
นำผลการดำเนินงานจากแผนปฏิบัติการประจำปีที่ผ่านมา มาปรับใช้
วิเคราะห์นโยบาย ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์ จุดเน้น ของกระทรวงศึกษา สพฐ เพื่อวางแผนพัฒนา
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนจากการวิเคราะห์แผนพัฒนา เพื่อดำเนินงานเป็นรายปี
ระยะเวลาดา เนินงาน 1 ปี
มีการปรบัปรงุระหว่างการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการประจำปี
วิเคราะห์โครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา
เน้นใช้แผนพัฒนาการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์ เพื่อให้ชัดเจน เหมาะสม และดำเนินการพัฒนาสู่อนาคต
วงจรคุณภาพ (PDCA) กับความเป็นพลวัตร (Dynamic)
การจัดและนำไปสู่การใช้แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสานศึกษา
มาตรฐานด้านผลลัพธ์
มาตรฐานด้านกระบวนการ
2) การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นตอนการจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา (ระยะ 3-5 ปี)
วิเคราะห์และประเมินศักยภาพของสถานศึกษา
กำหนดทิศทางการจัดการศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
รวบรวมข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับภายในและภายนอกของสถานศึกษา
กำหนดครอบกลยุทธ์การพัฒนาวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ริเริ่ม โครงการ
แต่งตั้งคณะทำงาน
จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
3) การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี (Action Plan)
เพื่อดำเนินงานเป็นรายปี กำหนดติดตาม ตรวจสอบการดำเนินงาน รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์
เพื่อระบุรายการใช้จ่ายงบประมาณสำหรับการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
เพื่อจัดลำดับความสำคัญของการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการพัฒนา คุรภาพของสถานศึกษา
เพื่อกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงานตามโครงการกิจกรรมให้บรรลุตามเป้าหมายของโครงการ
เพื่อกำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาคุรภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ประโยชน์
บุคลากร และผู้เกี่ยวข้อง ใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุมกำกับติดตามในการใช้งบประมาณ
สถานศึกษามีเครื่องมือสำคัญในการบริหารจัดการระบบคุณภาพตามแนวทางการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษามีทิศทางและแนวทางในการด าเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในแต่ละปีงบประมาณ
ขั้นตอน
ประมาณการงบประมาณรายจ่ายของโรงเรียน
การวิเคราะห์กำหนดโครงการตามแผนกลยุทธ์
ประมาณการงบประมาณรายรับของโรงเรียน
การจัดทำร่างแผนปฏิบัติการ
วิเคราะห์แผนพัฒนาคุณภาพศึกษาระยะ 3-5 ปี
ส่วนประกอบของแผนปฏิบัติการประจำปี
ส่วนที่ 3 ประมาณงบประมาณรายรับ - รายจ่าย
ส่วนที่ 4 รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปี
ส่วนที่ 2 ทิศทางและกลยุทธ์การจัดการศึกษา
ส่วนที่ 5 การกำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา (แนะนำในภาพรวมโดยสรุป)
4) หลักการของการเขียนโครงการและการประเมินโครงการ
องค์ประกอบ
การดำเนินงาน
การประเมิน
การวางแผน
เทคนิคการเขียนโครงการ
ลักษณะสำคัญของโครงการ
ต้องเป็นระบบ
ต้องมีวัตถุประสงค์ชัดเจน
ต้องวางแผนอย่างรอบคอบ
มีระยะเวลาที่แน่นอน
มีความเป็นเอกเทศ
ควรมีลักษณะเร่งด่วน หรือต้นทุนต่ำ ระยะสั้นที่สุด ค่าใช้จ่ายน้อย ผลผลิตตรงตามวัตถุประสงค์มาก
สถานที่ดำเนินงานชัดเจน
ควรมีลักษณะเป็นงานเริ่มต้นหรืองานพัฒนา
สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงาน
ข้อควรระวัง
ผู้เขียนต้องศึกษาเรื่องราวอย่างละเอียดก่อนเริ่ม
ผู้เขียนต้องมีค.จริงใจต่อองค์กร
ตรวจสอบสำนวนภาษา
เสนอข้อเท็จจริงที่ถูกต้องชัดเจนเท่านั้น
ถ้าเป็นค.คิดเห็นส่วนตัวควรระบุให้ชัดเจน
ตรวจสอบค.ครบถ้วนสมบูรณ์
นำเสนอโครงการด้วยอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ ฯลฯ
รูปแบบการเขียนโครงการ
1) แบบดั้งเดิม หรือ คลาสสิก (Classical Program Writing)
ป็นการเขียนโครงการตามลำดับหัวข้อต่างๆ ที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละหัวข้อให้ชัดเจนและสัมพันธ์กัน
2) แบบเหตุผลสัมพันธ์(Logical Framework Program)
มีลักษณะเป็นเหตุเป็นผลกัน (Logic)
จุดเด่น คือ กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จเป็นรูปธรรม โดยทุกคนเข้าใจโครงการทั้งหมดได้ง่าย
การออกแบบการประเมินโครงการ
องค์ประกอบ
การเลือกจุดเน้นการประเมิน (Focusing)
การออกแบบการประเมิน (Designing)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting)
การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล (Analyzing and Interpreting)
การรายงานผลการประเมิน (Reporting)
การจัดการประเมิน (Managing)
การประเมินผลการประเมิน (Meta Evaluation)
เกณฑ์ที่ใช้ในการออกแบบการประเมิน
ความเป็นไปได้ในการประเมิน (Feasibility of Assessment)
ความตรงภายนอก (External Validity)
ความตรงภายใน (Internal Validity)
การออกแบบการประเมินเชิงสำรวจ (Exploratory Evaluation Designs)
การออกแบบการประเมินเชิงบรรยาย (Descriptive Evaluation Designs)
การออกแบบการประเมินเชิงทดลองและกึ่งทดลอง (Experimental and Quasi-Experimental Evaluation Designs)
นางสาว วิศรุตา จันทร์สีมุ่ย 61202315