Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis)
สาเหตุ
1.การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทําให้ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกําเนิด ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
อาการและอาการแสดง
hypertensive encephalopathy จะมีอาการ ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลันแบบไม่คงที่
น้้ำท้วมปอด (Pulmonary edema)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
การซักประวัติ
ซักประวัติการเป็นโรคประจําตัว
ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา
การสูบบุหรี่
target organ damage, TOD
โรคอื่นๆที่เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
เจ็บหน้าอก (chest pain)
หนื่อยง่ายแน่นอกเวลาออกแรง
ไตวายเฉียบพลัน
ปริมาณปnสสาวะลดลง
หรืออาจไม่มีการขับถ่ายปัสสาวะ
การตรวจร่างกาย
:star: ตรวจ CBC ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
:star: ตรวจการทํางานของไตจากค่า Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR) และค่าอัลบูมินในปnสสาวะ
:star: หาความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดจากการตรวจ(12-lead ECG) และ chest X-ray
หมายถึง
ค่าความดันโลหิตซิสโตลิก ตั้งแต;140 มิลลิเมตรปรอท และความดันโลหิตไดแอสโตลิกตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอท
การรักษา
ให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดํา
เพื่อลดความดันโลหิตให้อยู่ในระดับ mean arterial pressure
หลังจากนั้น การรักษาจะเป็นการรักษาสาเหตุที่ทําให้เกิด Hypertensive crisis
ยาชนิดออกฤทธิ์สั้นไม่แนะนํายา Nifedipine ทั้งทางปากและบีบใส่ใต้ลิ้น
การพยาบาล
1.ในระยะเฉียบพลัน ติดตามอาการอย่างใกล้ชิด
ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทํากิจกรรม เช่นการจัดท่านอนให้สุขสบาย
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส;วนปลายไม;เพียงพอ
วิตกกังวล
พร่องความรู้
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ประเภทของ AF
1.Paroxysmal AF
2.Persistent AF
3.Permanent AF
4.Recurrent AF
5.Lone AF
สาเหตุ
:red_flag:พบบ่อยในผู้ป่วยที่เป็น
โรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
:red_flag: ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery)
และ hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
คลําชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
1.ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
2.สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
3.ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
4.ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด
5.เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทํา Cardioversion
6.เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง(Radiofrequency Ablation) ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยา
:pencil2: คือ ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
Ventricular tachycardia (VT)
:pencil2: หมายถึง ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
หัวใจเต้นเร็วมากแต่สม่ําเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
ไม่พบ P wave
ลักษณะ QRS complexมีรูปร่าง
ผิดปกติกว้างมากกว่า 0.12
ประเภทของ VT
:lock: 1.Nonsustained VT
:lock: 2.Sustained VT
:lock: 3.Monomorphic VT
:lock: 4.Polymorphic VT
สาเหตุ
:check: ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง (Myocardial infarction)
:check: โรคหัวใจรูห์มาติก (Rheumatic heart disease)
:check: ถูกไฟฟ้าดูด
:check: ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ํา
:check: พิษจากยาดิจิทัลลิส (Digitalis toxicity)
:check: กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการและอาการแสดง
:star: อาการเกิดทันที ผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ํา หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลําบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
1.นําเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที และเปิดหลอดเลือดดํา
2.คลําชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จํานวนปัสสาว
3.ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
4.ผู้ป่วย VTคลําชีพจรได้ ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในลดลง ให้เตรียมทํา synchronized cardioversion
5.ผู้ป่วยที่เกิด VTและคลําชีพจรไม่ได้ (Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator
6.ทํา CPR ถ7าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
:pencil2: หมายถึง ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle
-. เป็นจุดกําเนิดการเต้นของหัวใจตําแหน่งเดียวหรือหลายตําแหน่ง
-. เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่่ำเสมอ
สาเหตุ
:silhouettes: 1. Hypovolemia
:silhouettes: 2. Hypoxia
:silhouettes: 3. Hydrogen ion (acidosis)
:silhouettes: 4. Hypokalemia
:silhouettes: 5. Hyperkalemia
:silhouettes: 6. Hypothermia
:silhouettes: 7. Tension pneumothorax
:silhouettes: 8. Cardiac tamponade
:silhouettes: 9. Toxins
:silhouettes: 10. Pulmonary thrombosis
:silhouettes: 11. Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
:explode: อาการเกิดทันที คือ หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย
เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้ และเสียชีวิต
การพยาบาล
:black_flag: เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพ และทํา CPR ทันที เนื่องจากการรักษา VFและ Pulseless VTสิ่งที่สําคัญคือ การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันที และการกดหน้าอก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
:red_flag: ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความผิดปกติของ อัตรา และจังหวะการเต7นของหัวใจ
การพยาบาล
ปsองกันภาวะ tissue hypoxia
ติดตามค;าเกลือแร;ในเลือด
ติดตามผลข้างเคียงของยา
ติดตามและบันทึกภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยงลดลง
5 ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ ST segment เพื่อประเมินภาวะ
Myocardial tissue perfusion และป้องกันการเกิด Myocardial ischemia
ให้ยา antidysrhythmia
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure [AHF])
ความหมาย
การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรวดเร็ว การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ หรือการเสียสมดุลของpreload และafterload
สาเหตุ
1) ความผิดปกติทางหัวใจและหลอดเลือด
2) ความผิดปกตินอกระบบหัวใจและหลอดเลือด
:tada: โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
ภาวะหัวใจวาย กลไกการไหลเวียนของเลือดผิดปกติเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
1.Acute decompensated heart failure
2.Hypertensive acute heart failure
3.Pulmonary edema
4.Cardiogenic shock
5.High output failure
6.Right heart failure
:no_entry: อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยที่พบบ่อย
Cardiac wheezing
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ ่ อ่อนเพลีย
บวมตามแขนขา ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ํา/สูง
ปัสสาวะออกน้อยมาก หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว
การรักษา
1.การลดการทํางานของหัวใจ(Decrease cardiac workload)
2.การดึงน้้ำและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย (Negative fluid balance)
3.การใช้ยา
:recycle: 4.การรักษาสาเหตุได้แก่
การขยายหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี
การเปลี่ยนลิ้นหัวใจในโคโรนารี
การรักษาภาวะติดเชื้อ
การประเมินสภาพ
1.การซักประวัติและตรวจร่างกาย
2.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC,
biochemical cardiac markers, ABG
3 การตรวจพิเศษ ได้แก่
CXR, echocardiogram, CT, CAG
การพยาบาล
:red_flag: การลดการทํางานของหัวใจ และส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปยังเซลล์ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ การคงไว้ซึ่งความสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในร่างกายและความผิดปกติทางด้านจิตใจ
ภาวะช็อก (Shock)
ความหมาย
:confetti_ball: ออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อทั่วร่างกายลดต่่ำลง ทำให้ออกซิเจน
ของเนื้อเยื่อและอวัยวะ นําไปอวัยวะต่างๆ ขาดออกซิเจน
ระยะของช็อก
1.ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก (Compensated shock)
2.ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได7ในระยะท7าย (Decompensated shock)
3.ภาวะช็อกที่ไม;สามารถชดเชยได7 (Irreversible shock)
ประเภทของช็อก
1.ภาวะช็อกจากการขาดสารน้้ำ (Hypovolemic shock)
:silhouette: เกิดจากการลดลงของปริมาณของเลือดหรือสารน้ำในร่างกาย (การสูญเสียมากกว่า 30-40%
ของปริมาตรเลือด ทําให้ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจ(Venous return หรือ preload)ลดลง
2.ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว(Cardiogenic shock)
:silhouette: หัวใจไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกายโดยที่มีปริมาตรเลือดในระบบไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอ
3.ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว
3.1 ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ(Septic shock)
3.2 ภาวะช็อกจากการแพ้ (Anaphylactic shock)
3.3 ภาวะช็อกจากการทํางานผิดปกติของต่อมหมวกไต
4.ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ(Obstructive shock)
เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียนของโลหิตไปสู่หัวใจห้องซ้ายจากสาเหตุภายนอกหัวใจ ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
5.ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท(Neurogenic shock)
ความบกพร่องในการควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัติ ที่ควบคุมการขยายตัวและ
การหดตัวของหลอดเลือด ทำให้มีการขยายตัวของหลอดเลือดดําและหลอดเลือดแดงขึ้น
ส่งผลให้เลือดมีการ กระจายตัวไปยังหลอดเลือดส่วนปลายมากขึ้น หัวใจมีการเต้นช้า
การรักษา
:red_flag: 1.การแก้ไขระบบไหลเวียนโลหิต โดยกําหนดเปsาหมายให้ค่าความดันโลหิตเฉลี่ย (MAP)มากกว่าหรือเท่ากับ 65 mmHg
1.1 การให้สารน้้ำ ได้แก่ Crystalloid solution
1.2 การให้ยาที่มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ และการหดตัวของหลอดเลือด
2.การแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
3.การรักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก
4.การแก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
การประเมินสภาพ
:red_flag: 1.การซักประวัติ
-. ประเมินsequential organ failure assessment (SOFA)score
หรือ quick SOFA (qSOFA)ในผู้ป่วยที่สงสัยช็อคจากการติดเชื้อ
:red_flag: 2.การตรวจร;างกาย
:red_flag: 3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
:red_flag: 4.การตรวจพิเศษ
การพยาบาล
1.การป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
2.การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
3.การแก้ไขสาเหตุที่ทําให้เกิดภาวะช็อก
4.ส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยและครอบครัวต;อภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้น