Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Cardiac dysrhythmias
👉
Ventricular tachycardia (VT)
👈
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
สาเหตุ
พบในผู้บ่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง โรคหัวใจรูห์มาติก ถูกไฟฟ้าดูด ภาวะโพแทสเซียมต่ำ
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที ผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
ประเภทของ VT
Nonsustained VT ➤ เกิดต่อเนื่องน้อยกว่า 30 s
Sustained VT ➤ เกิดต่อเนื่อง 30 s
Monomorphic VT ➤ ลักษณะของ QRS complex รูปแบบเดียว
Polymorphic VT ➤ ลักษณะของ QRS complex รูปแบบเดียว
การพยาบาล
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที และเปิดหลอดเลือดดำ
คลำชีพจร Vital sign ประเมินระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในผป.ที่เกิด VT และคลำชีพจรได้และมีการไหลเวียนของเลือกลดลง ➤ เตรียม Synchronized cardioversion
ในผป.ที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้ ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
👉
Ventricular fibrillation (VF)
👈
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
การพยาบาล
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทำ CPR ทันที
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดขึ้นทันที คือ หมดสตอ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย
สาเหตุ
Hypovolemia
Hypovolemia
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
7.Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
9 Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
👉
Atrial fibrillation (AF)
👈
ประเภท AF
Paroxysmal AF ➤ หายเองใน 7 วัน ไม่ใช้ยา
Persistent AF ➤ ไม่หายเองใน 7 วัน หายด้วยยา
Permanent AF ➤ เป็นติดต่อกันนานกว่า 1 ปี + ไม่เคยรักษา
Recurrent AF ➤ เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF ➤ อายุ < 60 y ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ & HT
สาเหตุ
พบบ่อยในโรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจรูห์มาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ผป.หลังผ่าตัดหัวใจ hyperthrodism
อาการและอาการแสดง
➢ ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูและให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยไฟฟ้าคลื่นสูง
ภาวะช็อก (Shock)
เป็นภาวะที่เกิดความผิดปกติทางสรีรวิทยา➤ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อลดต่ำลงกว่าความต้องการ ➤ ความผิดปกติของการทำงานของอวัยวะต่างๆจากการขาดออกซิเจนในระดับเซลล์
ระยะช็อก
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก (Compensated shock)
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย (Decompensated shock)
ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้ (Irreversible shock)
การรักษา
แก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
รักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก
แก้ไขระบบไหลเวียนโลหิตให้ได้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีเพียงพอ ➤ กำหนดเป้าหมายให้ค่า BP เฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 65 mmHg
แก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
ประเภทช็อก
ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ำ (Hypovolemic shock)
สูญเสียน้ำมากกว่า 30-40%
ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว (Cardiogenic shock)
เกิดจากหัวใจไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย มีปริมาณเลือดเพียงพอ
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว (inflammatory shock)
มีสาเหตุจากหลอดเลือดส่วนปลายขยายตัว ➤ การลดลงของแรงต้านทานของหลอดเลือด + มีการไหลเวียนเลือดในระบบลดลงจากการไหลเวียนของเลือดลัดเส้นทาง
ภาวะช็อกจากการแพ้ (Anaphylactic shock)
ภาวะช็อกจากการทำงานผิดปกติของต่อมหมวกไต (Hypoadrenal/ adrenocortical shock)
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ (Septic shock)
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ (Obstructive shock)
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท (Neurogenic shock)
อาการและอาการแสดง
ประสาทส่วนกลาง
➤กระสับกระส่าย
หัวใจและหลอดเลือด
➤ ชีพจรเบาเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ผิวหนังเย็นซีด
หายใจ
➤ หายใจเร็วลึก ระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ ระบบหายใจล้มเหลว
ไตและการขับถ่ายปัสสาวะ
➤ ปัสสาวะออกน้อย
ทางเดินอาหาร
➤ ตับอ่อนอักเสบ ดีซ่าน ตับวาย
เลือดและภูมิคุ้มกัน
➤ เม็ดเลือดขาวทำงานบกพร่อง
ต่อมไร้ท่อ
➤ น้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำ
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ➤ CBC, BUN, Cr
การซักประวัติ
การตรวจพิเศษ ➤ X-ray, CT
การพยาบาล
👉 การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
👉 การแก้ไขสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะช็อก
👉 การป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
👉 ส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยและครอบครัวต่อภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้น
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
หมายถึง การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจอย่างรวดเร็วจากการทำงานผิดปกติของหัวใจทั้งการบีบตัวหรือการคลายตัวของหัวใจ การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ หรือการเสียสมดุลของ Preload และ Afterload
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
ภาวะหัวใจเต้นปกติ
ภาวะหัวใจวาย
กลไกการไหลเวียนของเลือดผิดปกติเฉียบพลัน
โรคหัวใจใดๆที่ทรุดลงตามการดำเนินโรค
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความผิดปกติอื่นๆ
หลอดเลือดปอดอุดตันเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดงที่พบบ่อย
➤ หายใจหอบเหนื่อย
➤ นอนราบไม่ได้
➤ อ่อนเพลีย
➤ บวมตามแขนขา
➤ ความดันโลหิตปกติ หรือสูง/ต่ำ
➤ ท้องอืดโต
➤ แน่นท้อง
➤ ปัสสาวะออกน้อย/มาก
➤ หายใจเร็ว
➤ เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง
➤ ฟังได้ยินเสียงปอดผิดปกติ
การรักษา
การลการทำงานของหัวใจ
การดึงน้ำและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย
การใช้ยา
การรักษาสาเหตุ ได้แก่ การขยายหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี, การเปลี่ยนลิ้นหัวใจโคโรนารี, การรักษาภาวะติดเชื้อ
การประเมินสภาพ
การซักประวัติและการตรวจร่างกายเพื่อประเมินสภาพอาการทางคลีนิกที่เกี่ยวข้อง ➤ เจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย บวม การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ➤ CBC, biochemical cardiac markers, ABG
การตรวจพิเศษ ➤ CXR, echocardiogram, CT, coronary artery angiography (CAG)
การพยาบาล
เป้าหมายสำคัญ
การลดการทำงานของหัวใจ
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปยังเซลล์ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การคงไว้ซึ่งความสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
ความผิดปกติทางด้านจิตใจ
ภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertensive crisis)
หมายถึง
ความดันโลหิตที่วัดจากสถานพยาบาลที่มีค่า Systolic 140 mmHg ขึ้นไป และค่า Diastolic 90 mmHg ขึ้นไป ในผู้ใหญ่อายุ 18 ปีขึ้นไป
Target organ damage (TOD)
Cardiovascular disease (CVD)
Hypertensive urgency
Hypertensive emergency
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertensive
การใช้ยาที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกำเนิด
อาการและอาการแสดง
อาการขึ้นอยู่กับ Vascular injury และ end organ damage
ความดันโลหิตสูงขั้นวิกฤตที่ทำให้เกิดอาการทางสมอง เรียกว่า hypertensive encephalopathy ➤ ปวดศีรษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
Acute cardiovascular syndromes
Myocardial infarction
Pulmonary edema
Aortic dissection
การซักประวัติ
โรคประจำตัว ความสม่ำเสมอในการกินยา การสูบบุหรี่ ประวัติโรคความดันโลหิตสูงในครอบครัว ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย
Vital sign วัด BP เปรียบเทียบกันของแขนทั้ง 2 ข้าง ชั่งนน. วัดส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว
หาความผิดปกติของ TOD ➤ โรคหลอดเลือดสมอง
ถ้าพบ Papilledema ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressure ตรวจ retina
ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages ➤ มีการแตกของ retina blood vessels และ retina nerves ถูกทำลาย
Chest pain บอกอาการของ Acute coronary syndrome or aortic dissection
อาการของ oliguria or azotemia ➤ ภาวะไตถูกทำลาย
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
& การตรวจพิเศษ
👉 ตรวจ CBC ประเมิน MAHA
👉 ตรวจการทำงานของไต ➤ creatinine eGFR ค่าอัลบูมินในปัสสาวะ
👉12-lead EKG, chest X-ray
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน ➤ เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ ➤ neurologic, cardiac and renal systems
ในระหว่างได้รับยา ➤ ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตาม BP อย่างใกล้ชิด
รักษาด้วย Sodium nitroprusside เริ่มให้ 0.3-0.5 mcg/kg/min และเพิ่มครั้งละ 0.5 mcg/kg/min ทุก 2-3 นาที
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม เช่น การจัดท่านอนให้สุขสบาย
ให้ความรู้/ ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษา
การรักษา
รักษาทันทีใน ICU ให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
กลุ่มยา ➤ vasodilator, adrenergic blocker, calcium channel blocker, angiotensin-converting enzyme inhibitor
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
👉เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
👉เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ
👉วิตกกังวล
👉พร่องความรู้