Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การจัดทำแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 6
การจัดทำแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา
แนวคิด หลักการและความสำคัญ
ขั้นตอนการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ (PDCA)
C: Checking
การตรวจสอบ ประเมินผลการพัฒนาคุณภาพ
D: Doing
การปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ
P: Planning
การวางแผนพัฒนาคุณภาพ
A: Action
การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ
หลักการของการเขียนโครงการและการประเมินโครงการ
องค์ประกอบพื้นฐานของการดำเนินโครงการ
การดำเนินงาน
การประเมิน
การวางแผน
เทคนิคการเขียนโครงการ
ข้อควรระวังใน
การเขียนโครงการ
3. ระหว่างการเขียนโครงการ
ผู้เขียนควรตรวจสอบสำนวนภาษา
4. ควรเสนอข้อเท็จจริงที่ถูกต้องชัดเจนเท่านั้น
โดยเฉพาะเรื่องที่เป็นการคาดการณ์อนาคตไม่ควรนำเสนอ
2. สิ่งที่นำเสนอออกมา
ผู้เขียนจะต้องมีความจริงใจต่อองค์กร ไม่แสวงหาผลประโยชน์
5. การนำเสนอความคิดเห็นส่วนตัวในการเขียนโครงการ
ถ้าเป็นความคิดเห็นของผู้เขียนคนเดียวก็ควรระบุให้ชัดเจน
แต่ถ้าเป็นความคิดเห็นของกลุ่มบุคคลไม่ควรนำเสนอมากนัก
1. ก่อนเริ่มเขียนโครงการ
ผู้เขียนจะต้องศึกษาเรื่องราวที่เกิดขึ้นของหน่วยงานอย่างละเอียด
6. ควรตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ของหัวข้อต่างๆ
7. การนำเสนอโครงการให้ผู้พิจารณาหรือคณะกรรมการได้เข้าใจ
รูปแบบการเขียนโครงการ
แบบเหตุผลสัมพันธ์
(Logical Framework Program)
แบบดั้งเดิม หรือ คลาสสิก
(Classical Program Writing)
ลักษณะสำคัญ
ของโครงการ
ต้องมีความเป็นเอกเทศ
ควรมีลักษณะเร่งด่วน หรือมีต้นทุนต่ำ
ต้องมีระยะเวลาที่แน่นอน
ควรมีสถานที่ดำเนินงาน
ต้องวางแผนอย่างรอบคอบ
ควรมีลักษณะเป็นงานเริ่มต้น
ต้องมีวัตถุประสงค์ (Objective)
9.สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงาน
โครงการต้องเป็นระบบ (System)
การออกแบบการประเมินโครงการ
เกณฑ์ที่ใช้ใน
การออกแบบ
การประเมิน
ความตรงภายนอก (External Validity)
ความตรงภายใน (Internal Validity
ความเป็นไปได้ในการประเมิน
(Feasibility of Assessment)
การออกแบบ
การประเมินโครงการ
การออกแบบการประเมินเชิงสำรวจ
(Exploratory Evaluation Designs)
การออกแบบการประเมินเชิงบรรยาย
(Descriptive Evaluation Designs)
การออกแบบการประเมินเชิงทดลองและกึ่งทดลอง (Experimental and Quasi-Experimental
Evaluation Designs)
องค์ประกอบที่ใช้ใน
การออกแบบการประเมิน
การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล
(Analyzing and Interpreting)
การรายงานผลการประเมิน (Reporting)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting)
การจัดการประเมิน (Managing)
การออกแบบการประเมิน (Designing)
การประเมินผลการประเมิน (Meta Evaluation)
การเลือกจุดเน้นการประเมิน (Focusing)
การประเมินโครงการรอบด้าน
การนำการประเมิน
แบบรอบด้านไปใช้
ขั้นที่ 2 ระบุสมรรถนะที่จำเป็นและความต้องการ
ขั้นที่ 3 การประเมินแบบรอบด้าน
ขั้นที่ 1 ระบุเป้าหมายและกลยุทธ์ขององค์กร
ขั้นที่ 4 การแจ้งผล การประยุกต์ผลไปใช้และการปรับปรุงแก้ไข
แหล่งของผู้ที่ให้ข้อมูล
และวิธีการประเมิน
การประเมินแบบ 90 องศา(90 Degree Feedback : Colleague Assessment)
การประเมินแบบ 180 องศา(180 Degree Feedback : Upward Review)
การประเมินแบบ 1 องศา (1 Degree Feedback : Self of Supervisor Assessment)
การจัดทำแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นตอนการจัดทำแผน
พัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา
วิเคราะห์และประเมินศักยภาพของสถานศึกษา
กำหนดทิศทางการจัดการศึกษาของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
รวบรวมข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพภายในและภายนอกของสถานศึกษา
การพัฒนา วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ตัวชี้วัด
ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ริเริ่ม โครงการ
แต่งตั้งคณะทำงาน
จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี
วัตถุประสงค์ของ
การจัดทำแผนปฏิบัติ
การประจำปี
เพื่อระบุรายการใช้จ่ายงบประมาณสำหรับการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
เพื่อจัดลำดับความสำคัญของการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษา
เพื่อกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงานตามโครงการกิจกรรมให้บรรลุ/ตามเป้าหมายของโครงการ
เพื่อกำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ประโยชน์ที่ได้รับจากแผน
ปฏิบัติการประจำปี
ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุมกำกับติดตามในการใช้งบประมา ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
สถานศึกษามีเครื่องมือสำคัญในการบริหารจัดการระบบคุณภาพตามแนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สถานศึกษามีทิศทางและแนวทางในการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาในแต่ละปีงบประมาณ ที่สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรรในแต่ละปีงบประมาณ
ขั้นตอนการจัดทำแผน
ปฏิบัติการประจำปี
เป็นการวิเคราะห์รายจ่ายที่เกิดขึ้นในการพัฒนาโรงเรียนซึ่งรายจ่ายของสถานศึกษาแบ่งออกเป็นลุ่ม ได้แก่ งานประจำตามโครงสร้าง โครงการตามกลยุทธ์ และงบกลางสำรองจ่าย
เป็นการคัดเลือกโครงการเพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติการประจำปี ที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาการจัดศึกษา ระยะ 3 - 5 ปี แล้วจัดทำรายละเอียดโครงการและทำการประเมินความความสมบูรณ์โครงการ
เพื่อทราบวงเงินที่คาดว่าจะได้รับและเพื่อใช้เป็นกรอบในการกำหนดวงเงินรายจ่ายที่จะเกิดขึ้น ในปีงบประมาณนั้น ๆ ให้ใกล้เคียงกับวงเงินที่ประมาณการไว้หรือไม่เกินที่คาดไว้มากเกินไป
นำข้อมูลจากการวิเคราะห์ขั้นตอนที่ 1 - 4 มาสังเคราะห์ลงในเอกสารแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา
วิเคราะห์เพื่อยืนยันทิศทางการจัดการศึกษาวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดค่าเป้าหมายระยะ 3 – 5 ปี เพื่อกำหนดทิศทางและกรอบกลยุทธ์การพัฒนาประจำปี
ส่วนประกอบของ
แผนปฏิบัติการประจำปี
ส่วนที่ 3 ประมาณการงบประมาณรายรับ – รายจ่าย
ส่วนที่ 4 รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปี
ส่วนที่ 2 ทิศทางและกลยุทธ์การจัดการศึกษา
ส่วนที่ 5 การกำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา