Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู่ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา - Coggle Diagram
การพยาบาลผู่ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา
ภาวะโลหิตจาง
ภาวะซีด
ภาวะที่มีการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
การขาดสารอาหารที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการสร้างเม็ดเลือดแดง
การนำธาตุเหล็กในร่างกายไปใช้ไม่ได้
สภาพแวดล้อมในไขกระดูกไม่เหมาะแก่การสร้างเม็ดเลือดแดง
ภาวะที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้น
การเสียเลือด
แบบเฉียบพลัน
แบบเรื้อรัง เช่น ประจำเดือนออกมาผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
อาการเฉพาะ
ผิวหนังซีด
อาการที่เกิดจากเนื้อเยื่อระบบต่างๆได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
ระบบประสาท
ปวดศีรษะ สมาธิสั้น ซึมเศร้า
ระบบทางเดินอาหาร
เบื่ออาหาร คลื่นไส้
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจเต้นแรง ชีพจรเร็ว
การินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
อายุและเวลาที่เริ่มแสดงอาการ
ตัวเหลืองในช่วงทารกแรกเกิด
การใช้ยา
ประวัติโลหิตจางในครอบครัว
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
complete blood count (CBC)
red cell indices
blood smear
wet preparation
การตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นๆที่จำเพาะแต่ละโรค
การรักษา
รักษาตามสาเหตุของภาวะโลหิตจางแต่ละสาเหตุจะมียาและวิธีการรักษาเฉพาะที่แตกต่างกัน
การให้เลือดเฉพาะรายที่จำเป็น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายพร่องออกซิเจนจากภาวะซีด
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการหอบเหนื่อย เขียวตามปลายมือปลายเท้า
สัณญาณชีพปกติตามวัย
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้พักผ่อนและกำหนดกิจกรรมที่ผู้ป่วยทำได้ตามความรุนแรงของภาวะซีด
ดูแลให้ได้รับอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง
ดูแลให้ได้รับยาครบถ้วนตามแผนการรักษา
วัดและบันทึกสัณญาณชีพ เพื่อประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่มีภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายพร่องออกซิเจน
ผู้ป่วยเด็กและบิดามารดา/ผู้เลี้ยงดู อาจขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซีดและการปฏิบัติตน
เป้าหมายการพยาบาล
มีความรู คามเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซีดและการปฏิบัติตรเมื่อมีภาวะซีด
เกณฑ์การประเมินผล
อธิบายสาเหตุ อาการ ของภาวะซีดได้อย่างถูกต้อง
อธิบายการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำและภาวะแทรกซ้อนของภาวะซีดได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยเด็กและบิดามารดา ผู้เลี้ยงดูเข้าใจเรื่องของโรค สาเหตุ อาการ แผนการรักษาและวิธีการควบคุมโรค
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในเรื่องการป้องกันการติดเชื้อ วิธีการดูแลเบื้องต้นก่อนมาพบแพทย์เมื่อมีอาการผิดปกติ
โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสรางเส้นโพลีเปปไทด์ที่ประกอบกันเป็นฮีโมโกลบิน
พยาธิสภาพของโรค
เกิดวามผิดปกติของยีนในการสร้างสายโกลบินชนิดหนึ่งลดลงหรือสร้างไม่ได้เลยโดยฉพาะเบต้าและอัลฟ่า
ชนิดของธาลัสซีเมีย
Hb Bart’shydrops fetalis หรือ Homozygous α-thalassemia (α-thal 1 /α-thal 1 หรือ- - / - -) เป็นชนิดที่รุนแรงที่สุดผู้ป่วยจะเสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือหลังคลอด
Homozygousβ-thalassemia(β-thal/β-thal)จะเริ่มมีอาการซีดตั้งแต่ขวบปีแรก
Hb H disease (α-thal 1 /α-thal 2 หรือ - - / -α, or α-thal 1 / Hb CS หรือ- - /αCSα) ส่วนใหญ่ มีอาการน้อย ได้แก่ ซีด เหลือง ตับม้ามโตไม่มาก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
กาตรวจทางห้องปฏิบัติการ
กาตรวจเลือดCBC
การตรวจนับ reticulocytes
การตรวจหา inclusion body
การตรวจวิเคราะห์หาชนิดของฮีโมโกลบิน
การตรวจ DNA
การรักษา
การให้เลือด
non transfusion dependent thalassemia : NTDT
transfution dependent thalassemia : TDT
การให้เลือดแบบประคับประคองในระดับต่ำ
การให้เลือดแบบเต็มที่ในระดับสูง
การให้เลือดในกรณีพิเศษ
การให้ยาขับเหล็ก
ผู้ป่วยเด็กอายุ2-6ปี
Desferrioxamine หรือDeferoxamine(DesferalR)20-40มก./กก./วัน
ผู้ป่วยมากกว่า6ปี
Deferoxamine (DesferalR) 20-40 มก./กก./วัน
Deferiprone (GPOL1) 75มก./กก./วัน แบ่งให้3เวลาหลังอาหาร
หากไม่สามารถให้ Deferoxamine Deferiprone ได้หรือให้แล้วไม่ได้ผล ควรให้ Deferasirox 20-40 มก./กก./วัน
อาจใช้ยา2ชนิดร่วมกันคือ Deferoxamine (DesferalR )และ Deferiprone (GPOL1)50 มก./กก.วัน แบ่งให้3เวลาหลังอาหาร
ให้ยาบำรุง
การผ่าตัดม้าม
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูกหรือการเปลี่ยนถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด
การเปลี่ยนยีน
ให้คำปรึกษาทางพันธุศาสตร์
การวินิจฉัยทางพยาบาล
ผู้ป่วยเด็กมีภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนจากภาวะซีด
เกณฑ์การประเมิน
สัญญาณชีพปกติเหมาะสมกับวัย
สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ตามปกติหรือใกล้เคียงปกติ
ระดับฮีมาโตคริตเพิ่มขึ้นจากเดิมใกล้เคียงปกติ
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
กิจกรรมพยาบาล
ดูแลให้ออกซิเจนตามความเหมาะสมตามแผนการรักษา
วัดสัญญาณชีพ ประเมินภาวะซีดจากสีของริมฝีปาก เยื่อบุตา ลิ้น
ดูแลให้เลือดตามแผนการรักษา
ดูแลให้อาหารที่มีโฟเลต
ติดตามผลการตรวจฮีมาโตคริตและฮีโมโกลบิน
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่มีภาวะพร่องออกซิเจน
มีโอกาสติดเชื้อในระบบต่างๆของร่างกายเนื่องจากภาวะซีดและภูมิต้านทานบางชนิดต่ำภายหลังการผ่าตัดม้าม
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการแสดงของภาวะติดเชื้อในระบบต่างๆของรางกาย
สัญญาณชีพปกติตามวัย
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบเชื้อ
กิจกรรมพยาบาล
แยกเด็กออกจากผู้ป่วยโรคติดเชื้ออื่นโดยเฉพาะการติดเชื้อทางเดินหายใจ
ประเมินอาการและอาการแสดงอาการติดเชื้อ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับเม็ดเลือดขาวและผลการเพาะเชื้อต่างๆ
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่เกิดภาวะติดเชื้อในระบบต่างๆของร่างกาย
มีภาวะธาตุเหล็กเกินไปและไปจับตามอวัยวะต่างๆเนื่องจากมีการแตกของเม็ดเลือดแดงเรื้อรังและลำไส้มีการดูดซึมธาตุเหล็กมากขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
ระดับferritin ลดต่ำลกว่า 1000มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ไม่มีอาการแสดงของภาวะเหล็กเกินจนเกิดพยาธิสภาพเช่น เบาหวาน
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำบิดามารดาและเด็กให้เลี่ยงอาหารและยาที่มีส่วนประกอบของธาตุเหล็ก
ดูแลให้ได้รับยาขับธาตุเหล็กอย่างต่อเนื่องและตามแผนการรักษา
ติดตามประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะธาตุเหล็กเกิน
ติดตามประเมินผลระดับธาตุเหล็กในร่างกายเป็นระยะๆจากการตรวจระดับ ferritinในเลือดทุก 3เดือน
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่มีภาวะเหล็กในระบบต่างๆของร่างกาย
เด็กและบิดามารดามีความเครียดวิตกกังวลเนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังและมีการเปลี่ยนแปลงของภาพลักษณ์และขาดความรู้เกี่ยวกับดูแลตนเอง
เกณฑ์การประเมิน
มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคธาลัสซีเมีย
สามารถดูแลตนเองได้
มีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นๆ
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับเด็ก บิดามารดาและให้โอกาสได้ระบายความรุ้สึกถึงปัญหาความกังวลต่างๆ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค การดำเนินของโรค การดูแลรักษา การเปลี่ยนแปลงของภาพลักษณ์
จัดกิจกรรมการเล่นให้เหมาะสม เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจให้เด็กเพลิดเพลิน
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่มีภาวะเครียด วิตกกังวลและภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง
โรคฮีโมฟีเลีย
สาเหตุ
เกิดความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสร้างปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
พยาธิสภาพ
ผลจากการขาดปัจจัยการแข็งตัวของเลือดทำให้ร่างหายไม่สามารถสร้างไฟบรินได้เลือดจึงไหลผ่านบริเวณหลอดเลือดที่ฉีกขาดทำให้มีเลือดออกนอกหลอดเลือดตลอดเวลา
ข้อวินิจฉัยทางพยาบาล
ผู้ป่วยเด็กเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกว้อนจากการมีเลือดออกในส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น ภาวะช็อกจากการเสียเลือด การสูญเสียหน้าที่ของอวัยวะส่วนที่มีเลือดออก
เกณฑ์การประเมินผล
สัญญาณชีพปกติตามวัย
ระดับความรู้สึกตัวไม่เปลี่ยนแปลง
กิจกรรมพยาบาล
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุหรือเลือดออก
ไม่ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อหรือใต้ผิวหนัง
สังเกต บันทึก และรายงานแพทย์เกี่ยวกับอาการแสดงของการมีเลือดออกตามส่วนต่างๆของร่างกาย
ดูแลให้ได้รับเลือดและส่วนแยกของเลือดตามแผนการรักษาอย่างครบถ้วนและถูกวิธี
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่เกิดภาวะช็อกจากการเสียเลือด ไม่เกิดการสูญเสียหน้าที่ของอวัยวะ
มีโอกาสเกิดภาวะเนื้อเยื่อพร่อออกซิเจนจากภาวะซีด
เกณฑ์การประเมิน
สัญญาณชีพปกติตามวัย
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เช่น หายใจหอบเหนื่อย
ระดับฮีมาโตคริตปกติตามวัย
กิจกรรมพยาบาล
ประเมินภาวะซีดและภาวะออกซิเจนในเลือด
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารที่มีโปรตีน ธาตุเหล็ก วิตามินซีและโฟเลทสูง
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ
ติดตามและบันทึกผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่เกิดภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน
มีความวิตกกังวลเนื่องจากกลัวการให้เลือด
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่แสดงสีหน้าวิตกกังล
สัญญาณชีพปกติตามวัย
มีความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของโรคฮีโมฟีเลีย อาการ การรักษา ภาวะแทรกซ้้อนและการปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
กิจกรรมพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวทราบว่าโรคฮีโมฟีเลียไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้แต่มีการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการมีเลือดออก
อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค
สอนให้ผู้ป่วยและครอบครัวสังเกตอาการผิดปกติที่ควรรีบมาพบแพทย์
เป้าหมายการพยาบาล
ความวิตกกังวลลดลง
ความรุนแรงของโรคฮีโมฟีเลีย
ชนิดรุนแรงมาก มีระดับแฟคเตอร์8หรือ9
ชนิดรุนแรงปากลาง
ชนิดรุนแรงน้อย
อาการและอาการแสดง
จ้ำเลือดใหญ่ๆตามลำตัวและแขนขา
เลือดออกในข้อและกล้ามเนื้อ
เลือดออกเมื่อฟันน้ำนมหลุด
เลือดออกที่อวัยวะอื่นๆเช่น ทางเดินอาหาร
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
venous clotting time (VCT)
mixing venous clotting time
coagulogram
factor assay
DNA analysis
การรักษา
การดูแอย่างองค์รวม
การรักษาเฉพาะที่
การรักษาทดแทนด้วยแฟคเตอร์เข้มข้นหรือส่วนประกอบเลือด
การรักษาด้วย DDAVP
การดูแลสุขภาพฟัน
การพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางนีโอพลาสม
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
อาการและอาการแสดง
เกิดจากไขกระดูกถูกกด มีอาการแสดงของเม็ดเลือดแดงต่ำ
อาการและอาการแสดงที่เกิดจากเวลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวลุกลามไปในอวัยวะอื่นๆ
การวินิฉัยโรค
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พยาธิสภาพ
มีเซลล์ต้นกำเนิดในไขกระดูก กลายไปเป้นเซลล์มะเร็ง แล้วแบางตัวไม่หยุด มีผลให้การทำงานของไขกระดูกผิดปกติ
การรักษา
การให้ยาเคมีบำบัด
การใช้รังสีรักษา
การรักษาด้วยการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน มีการใช้ยากลุ่ม G-CSF
การปลูกถ่ายไขกระดูกหรือเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด
การรักษาตามอาการ เช่น การให้เลือด
การจำแนกชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ชนิดเฉียบพลัน
ชนิดลิมโฟบลาสต์
กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง
อายุน้อยกว่า 1ปีหรือมากกว่า 10เม็ดเลือดขาว>50000เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่ำ
มีอายุระหว่าง 1-10ปี เม็ดเลือดขาว <50000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
ไม่ใช่ชนิดลิมโฟบลาสต์
พบได้น้อยประมาณร้อยละ 25-30 คือ myeloblastic,promyeloblastic,myelomonoblastic,monoblastic,erythroleukemia,megakaryoblastic
ชนิดเรื้อรัง
พบได้ร้อยละ 2.5 ของมะเร็งเม็ดเลือดขาวทั้งหมดในเด็ก รักษาไม่หายเพียงแต่ให้ยาเพื่อควบคุมอาการไว้เท่านั้น
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ชนิด
Hodgkin's disease (HD)
พยาธิสภาพ
ต่อมน้ำเหลืองมีขนาดโตขึ้น เริ่มโตบริเวณคอและเมดิเอสตินัม แล้วจึงแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลืองที่ติดต่อกัน
อาการและอาการแสดง
แบ่งเป็น4ระยะ
ระยะที่2 โรคมีผลต่อต่อมน้ำเหลือง 2กลุ่ม อยู่บริเวณกะบังลมข้างเดียวกัน
ระยะที่3 โรคมีการลุกลามต่อมน้ำหลืองทั้ง2ข้างของกะบังลม
ระยะที่ 1 โรคจำกัดอยู่ที่ต่อมน้ำหลือง1กลุ่ม อยู่เฉพาะที่และใกล้เคียงกับต่อมน้ำเหลือง
ระยะที่4 โรคลุกลามออกนอกระบบต่อมน้ำเหลืองกระจายไปทั่ว
การวินิจฉัยโรค
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ CBC
การทำ bone scan
การถ่ายภาพรังสี
การตรวจชิ้นเนื้อ
การรักษา
การรักษาที่ได้ผลค่อนข้างดีคือ รังสีรักษาและการให้เคมีบำบัด
Non-Hodgkin's lymphoma (NHL)
อาการและอาการแสดง
Small noncleaved lymphoma พบก้อนในท้อง ลำไส้อุดตัน
Large cell lymphoma พบได้เกือบทุกที่ของระบบต่อมน้ำเหลือง
Lymphoblastic lymphoma มีก้อนที่เมดิเอสตินัม ทำให้มีอาการหอบ ไอ อาจมีการอุดตันของ superior vena cava ทำให้หลอดเลือดที่คอโป่งพอง หน้าบวม
การวินิจฉัยโรค
ตรวจชิ้นเนื้อของต่อมน้ำเหลืองที่โตขึ้น
เจาะไขกระดูก
ตรวจ radiologic study, CT scan ปอด ระบบทางเดินอาหาร และเจาะหลัง
การรักษา
เคมีบำบัด CHOP CVP EPOCH Fludarabine
รักาาด้วยการฉายรังสี
รักษาด้วยภูมิคุ้มกันบำบัด
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด
การพยาบาล
ให้การรักษาด้วยเคมีบำบัด
สาเหตุ
เชื้อไวรัสโดยเฉพาะ Ebstein-Bar virus (EBV)
การได้รับยากดภูมิคุ้มกันเป็นระยะเวลานานๆ
สิ่งแวดล้อม
มะเร็งของไต
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่นอนแต่เนื่องจากเป็นเนื้องอกที่พบมากในวัยเด็ก อาจเกิจากกรเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อชั้น mesoderm ผิดปกติตั้งแต่ระยะทารกเป็นembryo
พยาธิสภาพ
ก้อนมะเร็งมักเป็นก้อนขนาดใหญ่ทำให้มีอาการท้องโตหรืคลำก้อนได้บนท้อง
อาการและอาการแสดง
คลำพบก้อนที่ท้องเป็นอาการที่พบมากที่สุด ก้อนเรียบ กดไม่เจ็บ
ปัสสาวะเป็นเลือดโดยไม่มีอาการปวด
ซีด ความดันโลหิตสูง
ปวดท้อง มีไข้ คลื่นไส้ อาเจียน
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออก
รังสีรักษาที่บริเวณตำแหน่งไต
การให้เคมีบำบัด
การพยาบาล
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
ห้ามคลำท้องเด็กเพราะจะทำให้แตกและมะเร็งจะแพร่กระจายไปได้
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินการทำงานของไต สังเกตลักษณะปละปริมาณปัสสาวะ ปริมาณน้ำเข้าออก
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ประเมินการทำงานของระบบทางเดินอาหาร
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายหนัก
ดูแลประคับประคองสภาพจิตใจแก่บิดามารดา
มะเร็งของเซลล์ประสาท
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่นอน มีข้อสันนิษฐานว่าอาจมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
พยาธิสภาพ
ก้อนเนื้อมักเป็นก้อนขนาดใหญ่ที่เกิดจากการแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์ประสาทอ่อน
อาการและอาการแสดง
มีก้อนในช่องท้องหรือส่วนอื่นๆเช่น ก้อนบริเวณหลังลูกตา
อาการทั่วไปเช่น น้ำหนักลด ถ่ายอุจจาระเหลวบ่อยครั้ง
ต่อมหมวกไตถูกกด ก้อนเนื้องอกปล่อยสาร catecholamine
การวินิจฉัยโรค
การเจาะไขกระดูก rosette formation
ตรวจปัสสาวะ 24ชั่วโมง หาVMA และ HAV
ตรวจ ferritin ในเลือด ดูการพยากรณ์ถ้าสูงจะมีการพยากรณ์โรคไม่ดี
ultrasound,IVP,CT abdomen ในรายที่มีก้อนที่บริเวณต่อมหมวกไต
การรักษา
การผ่าตัด ทำในระยะที่ 1,2
การให้รังสีรักษา
การให้ยาเคมีบำบัด ให้ในระยะที่2 ขึ้นไป
การพยาบาล
ให้การพยาบาลตามอาการและอาการแสดง ซึ่งขึ้นกับตำแหน่งเนื้องอก ประเมินความดันเลือดเป็นระยะๆ
สรุปข้อวินิจฉัยการพยาบาลเด็กโรคมะเร็ง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากภาวะซีด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกง่ายเนื่องจากเกล็ดเลือดต่ำ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในระบบต่างๆของร่างกายเนื่องจากภูมิต้านทานต่ำ
มีความไม่สุขสบาและอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากอาการข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร
ผมร่วง
ระดับกรดยูริกสูงซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะไตวาย
เป้าหมายการพยาบาล
มีความสุขสบายมากขึ้นไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากอาการข้างเคียงของยา
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
รับประทานอาหารได้
ไม่มีแผลในปากหรือเยื่อบุต่างๆของร่างกาย
ไม่มีอาการอักเสบของหลอดเลือดดำบริเวณที่ฉีดยาเคมีบำบัด
ไม่มีอาการติดเชื้อในร่างกาย
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสภาวะผู้ป่วยเด็กว่าสามารถรับการรักษาด้วยเคมีบำบัดได้หรือไม่
รักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย แคลอรีสูง
ใช้เข็มหรือสายสวนหลอดเลือดดำขนาดเล็กในการให้ยาเคมีบำบัดแก่ผู้ป่วยเด็กและสังเกตอาการบวม