Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ, image, image, image, image, image,…
บทที่ 2 การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ
โรคหัด
(MEASLES/RUBEOLA)
:star:
สาเหตุ
:<3:
เชื้อไวรัส (paramyxovirus)
ระยะฟักตัว :<3:
ประมาณ 10 วันหลังจากได้รับเชื้อจนกระทั่งมีไข้
หรือประมาณ 14 วัน จนกระทั่งปรากฏผื่น
ระยะเวลาติดต่อ :<3:
ประมาณ 8-12 วัน คือ 4วันก่อนผื่นขึ้น
จนถึง 4 วันหลังผื่นขึ้น ติดต่อทางอากาศและสัมผัสน้ำมูกน้ำลายหรือเสมหะของผู้ป่วย
การระบาดของโรค :<3:
ตลอดทั้งปี วัยเด็กมักเป็นโรคหัดอายุ
1-7 ปี อายุน้อยกว่า 6 เดือนมักไม่พบว่าเป็ ฝนโรคหัด
อาการและอาการแสดง :<3:
อาการนำ : ไข้สูง อ่อนเพลีย ไอ น้ำมูกน้ำตาไหล เยื่อบุตาอักเสบ กลัวแสง หนังตาบวม ทอนซิลโจและแดงในวันที่ 2-3 ตรวจพบ
Koplick’s spot ลักษณะเม็ดขาวเล็กๆขนาดเท่าหัวเข็มหมุดบนเยื่อบุกระพุ้งแก้มที่แดงจัด หายไปหลังผื่นขึ้นประมาณ 2 วัน
การวินิจฉัย :<3:
Koplick’s spot
ตัวอย่างเสมหะ เยื่อเมือกที่จมูก
การตรวจทางนํ้าเหลือง
การตรวจเลือด
โรคแทรกซ้อน :<3:
สมองอักเสบ (Encepalitis) ไข้ อาเจียน ซึม ชัก และระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
ปอดอักเสบ (Broncho-pneumonia)
หูชั้นกลางอักเสบ (Otitis media)
เยื่อบุตาอักเสบ (Conjunctivitis)
ลำไส้อักเสบ (Enteritis)
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
เป็นนโรคหัดขณะตั้งครรภ์ อาจทำให้เด็กตายคลอดหรือคลอดก่อนกำหนดได้
การรักษา :<3:
เป็นโรคที่หายได้เองไม่มีโรคแทรกซ้อนไม่มีความจำเป็นให้ยาต้านจุลชีพ ให้พักผ่อน ยาลดไข้ และให้น้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ถ้าติดเชื ้อแบคทีเรียซ้ำต้องให้ยาต้านจุลชีพทีเหมาะสม
การป้องกัน
:<3:
การให้ภูมิคุ้มกันที่สามารถป้องกันโรคหัดได้ทันที โดยให้Gamma globulin ฉีดเข้ากล้ามเนื้อภายใน 5 วันหรือน้อยกว่า 6 วันหลังจากได้รับเชื้อ ให้ในเด็กเล็ก เด็กที่เจ็บป่วยเรื้อรัง หญิงมีครรภ์และผู้ที่มีระบบอินมูนบกพร่อง อยู่นาน 3-6 สัปดาห์
โรคหัดเยอรมัน
(Rubella)
:star:
ไข้ออกผื่น ไม่รุนแรงในเด็ก แต่สําคัญ สตรีตั้งครรภ์เป็นโรคหัดเยอรมันในระยะเริ่มตั้งครรภ์ได้ 3-4 เดือน เชื้อไวรัสผ่านไปทารกในครรภ์ ทำให้เกิดความพิการทางหู ตา หัวใจ สมอง
เชื้อ rubella เป็น RNA ไวรัสอยู่ในตระกูล Togaviridaeและในกลุ่ม rubi-virus
พยาธิสภาพ :red_flag:
พบความผิดปกติมากมายได้ทุกส่วนของร่างกายผลจากไวรัสทำลายเซลล์โดยตรง ทําให้เกิด mitotic arrest คือจำนวนเซลล์ในอวัยวะต่างๆน้อยลง ทําให้การเจริญเติบโตล่าช้าเยื่อหุ้มสมองอักเสบเรื้อรัง พยาธิสภาพที่ตา เกิดเป็นต้อกระจกเลือกออกในcochlea กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ อาจพบจ้ำเลือดและภาวะเกร็ดเลือดต่ำ
ระยะติดต่อ :red_flag:
คือ 2-3 วันก่อนมีผื่นขึ้นจนไปถึง 7 วันหลังผื่นขึ้น ทารกที่ติดเชื้อในครรภ์ เชื้อไวรัสอยู่ในลำคอและขับถ่ายออกมาทางปัสสาวะได้นานถึง 1 ปี
ระยะฟักตัว
:red_flag:
14-21 วัน เฉลี่ย 16-18 วัน
อาการและอาการแสดง :red_flag:
sore throat, mild hyperemia (redness) of the throat;
slight increase parotid glands;rash lasts 1-2 days
การวินิจฉัยโรค :red_flag:
แยกเชื้แไวรัสจากน้ำมูก swab จากคอ เลือด
ปัสสาวะ และนํ้าไขสันหลัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด
:red_flag:
การแยกเด็กแบบ Respiratory Isolation ตั้งแต่มีอาการถึง 5-7วัน หลังผื่นขึ้น
Tepid sponge
การดูแลทั่วๆไป ผิว หนังตา หู ปากฟันและจมูก
ระยะไข้สูงให้อาหารอ่อน หรืออาหารเหลว ดื่มน้ำมากๆ
สังเกตอาการแทรกซ้อนอื่นๆ ข้ออักเสบให้แอสไพริน กรณีเกร็ดเลือดต่ำ และ
เลือดออกไม่หยุดอาจต้องใช้ยาสเตียรอยด์ให้เกร็ดเลือด หรืออิมมูโนกลอบูลิน
โรคสุกใส
(Chickenpox/Vericella) :star:
ขึ้นบริเวณหนังศีรษะ ใบหน้า คอ และ เยื่อบุช่องปากก่อนแล้วจึงลามไปที่แขนขา
กระจายแบบ Centripetal
ผื่นมักจะอยู่บริเวณลําตัว ใบหน้ามากกว่าแขนขา
และมักหายไปโดยไม่มีแผลเป็น
ระยะฟักตัว :fire:
10-21 วัน
อาการนำ
:fire:
มีไข้ต่ำๆพร้อมกับผื่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร 1-
2 วัน ปวดท้องเล็กน้อย
ลักษณะผื่น
:fire:
**เริ่มจากจุดแดงราบ(macule) ขนาด 2-3mm. แล้ว
เปลี่ยนเป็นตุ่มนูน(papule)อย่างรวดเร็วภายใน 8-12 ชม. และตุ่มน้ำใส(vasicle) ต่อมาเป็นตุ่มหนอง(pustule) แห้งตกสะเก็ด (crust)ลักษณะเฉพาะคือ : พบผื่นระยะต่างๆในเวลาเดียวกัน
โรคแทรกซ้อน :fire:
การติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง
ปอดอักเสบ ข้ออักเสบ กระดูกอักเสบ
สมองอักเสบ
Reye’s syndrome
Hemorrhagic chickenpox:
Disseminated varicella
การวินิจฉัย :fire:
ขูดพื้นของตุ่มใสมา smear บน slide พบ
Multinucleated giant cell Intranuclear Inclusion /complement fixation/vesicle fluid
การป้องกัน :fire:
ระยะแพร่เชื้อ เริ่มตั้งแต่ 24 ชั่วโมงก่อนที่ผื่นขึ้นจนตุ่ม
แห้งหมดแล้ว ควรอยู่ในห้องแยก strict isolation ควรหยุดเรียน
การพยาบาล :fire:
แยกผู้ป่วยไว้จนกว่าแผลตกสะเก็ดหมด พักผ่อน ใช้
dermapon ฟอก หรือให้คาลาไมน์โลชั่นทาหลังอาบน้ำให้ยา Antihistamine
ตัดเล็บมือให้สั้น ใส่ถุงมือในเด็กเล็ก
อาหารธรรมดา
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
วัคซีนป้องกันโรคสุกใส ถ้าสัมผัสโรคไม่เกิน 3 วัน ป้องกันโรคได้มากกว่า 90%
บาดทะยัก
(Tetanus)
:star:
เป็นโรคติดเชื้อที่พบได้ในทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะในทารกแรกเกิดจะมีอันตรายตายสูงมาก
เรียกว่า “บาดทะยักในทารกแรกเกิด” (Tetanus neonatorum)
สาเหตุ :checkered_flag:
การติดเชื้อบาดทะยัก Clostridium tetani เป็นเชื้อกรัมลบ
การติดต่อ :checkered_flag:
ทางบาดแผล ลักษณะลึก เป็นแผลปิด ทำให้ออกซิเจนเข้าไปไม่ถึง เช่น ถูกของแหลมต่ำ
โดยเฉพาะบริเวณฝ่าเท้า ลึก สกปรก มีเนื้อตาย หูน้ำหนวก ในทารกแรกเกิดทางสะดือ
คําว่า Tetanus มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก Teinein ซึ่งแปลว่า “ยืดอก” เป็นเพราะ
ผู้ป่วยบาดทะยักจะมีอาการการหดเกร็ง
พยาธิสภาพ :checkered_flag:
เชื้อบาดทะยักเข้าสู่ร่างกายในรูปของสปอร์ แล้วเจริญอยู่ในรูปของ vegetative
form และผลิตท๊อกซินหรือสารพิษ ชนิด exotoxin มีอยู่ 2 ชนิด
เทตะโนไลซิน (tetanolysin) ทําให้เม็ดเลือดแดงแตกในสัตว์แต่ไม่ก่อโรคในคน
เทตะโนสปาสมิน (tatanospasmin) มีผลต่อระบบประสาท (neurotoxin)
อาการและอาการแสดง :checkered_flag:
ประมาณ 2-14 วัน ถ้าระยะเวลาฟักตัวน้อยกว่า 1 สัปดาห์ มักรุนแรง อัตรา
ตายสูง ระยะดําเนินโรคของบาดทะยักได้เป็น 3 ระยะ
ระยะที่ระบาดแผลมีเชื้อบาดทะยัก (wound bacterial stage)
ระยะที่เชื้บาดทะยักสร้างท็อกซินและเข้าสู่กระแสเลือด(tetanotoxemic stage)
ระยะสุดท้ายของบาดทะยัก (neurologic stage)
การป้องกัน :checkered_flag:
ล้างแผลให้สะอาดเมื่อมีบาดแผล ฟอกสบู่เช็ดด้วยแอลกอฮอล์
ใช้เครื่องมือที่สะอาดปราศจากเชื้อรวมทั้งการรักษาความสะอาดของสะดือ ด้วยการเช็ด 70%
alcohol วันละ 2 ครั้ง ห้ามใช้แป้งหรือผงโรย
การพยาบาล :checkered_flag:
มีภาวะบกพร่องของการหายใจ เนื่องจากมีการหดเกร็งของกล่องเสียงและกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ
กล้ามเนื้อและระบบประสาทไวต่อการกระตุ้น เนื่องจากมีท็อกซินของเชื้อบาดทะยักไปเกาะติดกับระบบ
ประสาท – ให้ยาปฏิชีวนะเป็นการทาลายเชื้อบาดทะยัก ทาให้ไม่มีเชื้อที่จะผลิตท็อกซินได้อีกและแอนตี้ทอกซินให้เพื่อทำลายท็อกซินที่ยังไม่ได้เกาะติดระบบประสาท
ทำความสะอาดบาดแผล หลังให้แอนตี้ท็อกซินนาน 1-2 ชม. ฟอก แผลด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ควบคุมการหดเกร็งจัดให้อยู่ในห้องแยก ไม่รบกวนเด็กบ่อยเกินสัมพัสเท่าที่จำเป็น
การเช็ดตัวลดไข้ คือ การคบเปียกชุบนํ้าอุ่นห่อตัวนาน 5 – 10 นาที ร่วมกับให้ยาลดไข้
ให้ยากันชัก การให้ยากันชักมากกว่า 1 ชนิด ร่วมกันส่งเสริมฤทธิ์กดการหายใจได้ ควรสลับเวลาให้
ประเมินความถี่ของการชักเกร็ง ลักษณะ พูดด้วยน้ำเสียงที่นุ่มนวล ดังพอได้ยิน
ไอกรน
(Pertussis, Whooping cough)
:star:
โรคไอกรน เป็นโรคที่พบได้ในคนทุกวัย พบได้บ่อยในเด็ก อายุ 2-6 ปี และพบได้มาก
ในช่วงฤดูฝน บางครั้งอาจพบมีการระบาดเกิดขึ้นได้ทุก ๆ 3-5 ปี โดยเฉพาะในชนบทตามหมู่บ้านหรือโรงเรียน แต่ในปัจจุบันพบโรคนี้ได้น้อยลงมาก โดยเฉพาะในประเทศที่พัฒนาแล้ว (ลดลงไปมากกว่า 90% เมื่อเปรียบเทียบสมัยก่อนที่ยังไม่มีวัคซีนป้องกัน )
สาเหตุ :check:
เกิดจาก “เชื้อไอกรน” ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า “บอร์เดเทลลาเพอร์ทัสซิส” (Bordetella pertussis) อยู่ในน้ำมูกน้ำลาย และเสมหะของผู้ป่วย
กลไกการเกิดโรค
:check:
เมื่อเชื้อไอกรนเข้าสู่ทางเดินหายใจแล้ว เชื้อจะไปเกาะอยู่กับเซลล์เยื่อบุหรือเยื่อเมือกของเนื้อเยื่อหลังโพรงจมูก และแบ่งตัวเพิ่มจ านวนมากขึ้นและผลิตสารพิษหลายชนิดออกมา ซึ่งจะส่งผลต่อการอักเสบของเยื่อบุทางเดินหายใจ
พยาธิสภาพ
:check:
Bordetella pertussis มีหลายชนิดที่ทำให้
เกิดพยาธิสภาพของโรค
บางชนิดทำให้เชื้อเกาะติดกับเยื่อบุของขนพัดโบกของทางเดินหายใจ
การอักเสบของเยื่อบุเกิดการตายที่หลอดลมทำให้เกิดbronchopneumonia
เกิดการอุดตันบริเวณ bronchiolar และปอดแฟบ
มีเลือดคั่งในเยื่อบุทางเดินหายใจ
อาการของโรคไอกรน :check:
ระยะเป็นหวัด หรือ ระยะเยื่อเมือกทางเดินหายใจอักเสบ (Catarrhal phase)
ระยะไอรุนแรง หรือ ระยะอาการกําเริบ (Paroxysmal phase)
ระยะฟื้นตัว หรือ ระยะพักฟื้น (Convalescent phase)
ภาวะแทรกซ้อนของโรคไอกรน :check:
โดยส่วนใหญ่โรคไอกรนจะหายได้เป็นปกติ มีเพียงส่วนน้อยที่อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน(ในเด็ก
ทารกที่มีอายุต่ากว่า 6 เดือน โรคมักมีความรุนแรงและมีภาวะแทรกซ้อนเกิด ปอดอักเสบ/ปอดบวม (Pneumonia) ปอดแฟบ (Atelectasis)อาจพบหลอดลมอักเสบ (Bronchitis), หูชั้นกลางอักเสบ (Otitis media), มีจุดเลือดออก(Petechiae)
วิธีรักษาโรคไอกรน :check:
ควรรีบไปพบแพทย์เมื่อมีอาการชัดเจนว่าเป็นโรคไอกรน (มีอาการไอเกิดขึ้นติดกันเป็นชุด ๆ ในช่วง
สุดท้ายของการไอจะมีเสียงดังวู้ปหรือวู้ หลังการไอมีอาเจียนตามมา และส่วนใหญ่จะไม่มีไข้ ยกเว้นในรายที่มีโรคปอดอักเสบแทรกซ้อน) หรือในกรณที่มีอาการดังกล่าวไม่ชัดเจน แต่ไอติดต่อกันนานมากกว่า 2 สัปดาห์ ก็ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและรับการรักษาอย่างถูกต้องต่อไป
ที่มีโรคปอดอักเสบแทรกซ้อน) หรือในกรณที่มีอาการดังกล่าวไม่ชัดเจน แต่ไอติดต่อกันนานมากกว่า 2
สัปดาห์ ก็ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและรับการรักษาอย่างถูกต้องต่อไป
ให้เด็กอยู่ในท่ที่มีอากาศปลอดโปร่ง ให้ดื่มน้ำอุ่นมาก ๆ เพื่อให้เสมหะใสและขับออกได้ง่าย
ควรให้เด็กรับประทานอาหารทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง เพื่อช่วยลดอาการเจียน ถ้ามีอาการอาเจียนมาก ให้รับประทานอาหารทีละน้อย และให้ทดแทนหลังอาเจียน หรือให้น้ำเกลือที่ผสมเอง (น้ำสุก 1 ขวดแม่โขงควรให้เด็กรับประทานอาหารทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง เพื่อช่วยลดอาการเจียน ถ้ามีอาการอาเจียนมาก ให้รับประทานอาหารทีละน้อย และให้ทดแทนหลังอาเจียน หรือให้น้ำเกลือที่ผสมเอง (น้ำสุก 1 ขวดแม่โขงหลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการไอ เช่น การออกแรง การถูกฝุ่นละออง ควันบุหรี่ ควันไฟ หรืออากาศที่ร้อนหรือเย็นจนเกินไป
โรคคอตีบ
(Diphtheria) :star:
โรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ เกิดการอักเสบ มีแผ่นเยื่อในลำคอ มีการตีบ
ตันของทางเดินหายใจ อาจทำให้ถึงตายและจากพิษ (Exotoxin) ของเชื้อทำให้มีอันตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจและเส้นประสาทส่วนปลาย
สาเหตุ :explode:
เชื้อแบคทีเรีย Corynebactrium diphtheriae (C.diphtheriae) รูปทรงแท่ง ย้อมติดสีแกรมบวก
ระบาดวิทยา :explode:
พบในคนเท่านั้น ในจมูกหรือลำคอ โดยไม่มีอาการ ติดต่อกันทางไอ จามรดกัน พูดคุยระยะใกล้ชิด เชื้อเข้าทางปากหรือการหายใจ หรืออาจใช้ภาชนะร่วมกัน
อาการและอาการแสดง :explode:
ไข้ต่ำ อาการคล้ายหวัด ไอเสียงก้อง เจ็บคอรุนแรง เบื่ออาหาร ต่อมน้ำเหลืองท่คีอโตและบริเวณรอบๆ รนุ แรงคอบวม “Bullneck” บางรายมีการกดทับเส้นเลือดดํา jugular ทำให้ใบหน้ามีสีดำคล้ำจากเลือดคั่ง มักมีอาการของ toxicemia อาการไข้สูง ซึม ชีพจรเบาเร็ว มือเท้าเย็น อาจเสียชีวิตจากภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลวได
คอพบแผ่นเยื่อสีขาวปนเทาติดอยู่บริเวณทอนซิล บริเวณลิ้นไก่ แผ่นเยื่อเกิดจากพิษที่ออกมา มี
น้ำมูกปนเลือด มีกลิ่นเหม็น ถ้าลงหลอดคอ ทําให้ทางเดินหายใจตีบตัน หายใจลำบาก ถึงตาย
โรคแทรกซ้อน :explode:
การอุดตันของทางเดินหายใจส่วนบน พบในเด็กเล็ก
วันท่ี 2-3 ของโรค กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ หัวใจเต้นไม่สม่พเสมอเต้นเร็วหรือช้า มี gallop หัวใจล้มเหลว มีการเปลี่ยนแปลง ST-Tมีความผิดปกติของ conduction และ หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอพบอัตราการเสียชีวิตในรายที่มี heart block
การวินิจฉัยโรค :explode:
ตรวจแผ่นเยื่อในลำคอการเพาะเชื้อ C.diphtheriae โดยใช้ throat swab
การรักษา :explode:
การให้ Diphtheria Antitoxin (DAT) ต้องรีบให้เร็วที่สุดเพื่อไปทําลายExotoxin ก่อนที่จะเกิดอันตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจและปลายประสาท
ให้ยาปฏิชีวนะเพนนิซิลิน เป็นเวลา 14 วัน หรือ Erythromycin แทน
ถ้าทางเดินหายใจตีบ ต้องเจาะคอเพื่อช่วยให้หายใจได้
ต้องมีการพักผ่อนอย่างเต็มที่อย่างน้อย 2-3 สัปดาห์ ให้สารน้ำทางหลอดเลือด ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็นระยะเพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนทางหัวใจ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นปลายสัปดาห์ที่2
การป้องกัน :explode:
ต้องมีการแยกผู้ป่วยจากผู้อื่น อย่างน้อย 3 สัปดาห์ หลังเริ่มมีอาการ หรือตรวจเพาะเชื้อไม่พบเชื้อแล้ว 2 ครั้งและต้องให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบแก่ผู้ป่วยที่หายแล้วmทุกคน
ผู้ใกล้ชิดผู้ป่วย เนื่องจากโรคคอตีบติดต่อกันได้ง่าย จึงควรติดตามดูอาการอย่างใกล้ชิด โดย
การเพาะเชื้อจากลำคอและติดตามอาการ 7 วัน ผู้ที่ไม่เคยได้รับวัคซีนป้องกันโรคมาก่อนหรือได้รับไม่ครบ ควรให้ยาปฏิชีวนะ เป็นเวลา 7 วันพร้อมเริ่มให้วัคซีน พร้อมให้ Diphtheria
Antitoxin เช่นเดียวกับผู้ป่วย
ในเด็กทั่วไป โดยให้วัคซีนป้องกันคอตีบ 4 ครั้งเมื่ออายุ 2,4,6 และ 18 เดือน และกระตุ้นอีก
ครั้งหนึ่งเมื่ออายุ 4-6 ปี (ต่อไปอาจกระตุ้นทุก 10 ปี )
โรคคางทูม
(Mumps) :star:
เป็นการอักเสบของต่อมน้ำลาย : Parotid gland พบมากในเด็กอายุ 6-10 ปี (< 3 ปี มักไม่พบ)
สาเหตุ
Paramyxovirus (อยู่ในน้ำลาย/เสมหะ)
การติดต่อ
ไอ จาม หายใจรดกัน 1-2 วัน ก่อนเริ่มมีอาการจนถึง 9 วันหลังจากต่อมน้ำลายพาราติดเริ่มบวม
ระยะฟักตัว
12-25 วัน
อาการ
ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลีย ขากรรไกรบวมแดง ปวด ร้าวไปที่หูขณะกลืน เคี้ยว อ้าปาก อาการบวมจะค่อยๆยุบหายไปใน 7-10 วัน
โรคแทรกซ้อน
:green_cross:
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ * พบบ่อย
หูชั้นในอักเสบ ไตอักเสบ
ส่วนน้อยพบ orchitis (ลูกอัณฑะอักเสบ : ไข้สูง อัณฑะบวม ปวด อาจเป็นหมันได้)
การรักษา
:green_cross:
รักษาตามอาการ : ให้นอนพัก ดื่มน้ำมากๆ เช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดไข้ ปวด บวม : ประคบ บ้วนปากด้วยน้ำเกลือบ่อยๆ
2.อัณฑะอักเสบ : ให้ prednisolone 1 mg/kg/day
การวินิจฉัยโรค
แยกเชื้อไวรัสจาก Throat washing จากปัสสาวะและน้ำไขสันหลัง
การแยกผู้ป่วย
แยกผู้ป่วย 9 วันหลังเริ่มมีอาการบวมของต่อมน้ำลาย
การป้องกัน
ให้วัคซีนป้องกันคางทูม
วัณโรค
(Tuberculosis) :star:
เป็ นโรคติดต่อเรื้อรัง ทำให้มีการอักเสบในปอด
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis เป็น Acid Fast Bacillus ย้อมติดสีแดง
ระยะฟักตัว
2-10 สัปดาห์
อาการ
ระยะแรกไม่แสดงอาการ
TT (PPD test +ve (2-10 wks)
1-6 เดือนต่อมา LN.โต ปอด organ อื่นๆ
การวินิจฉัยโรค
ประวัติการสัมผัสโรค
การทดสอบทูเบอร์คูลิน ใช้วิธีทดสอบMantoux ด้วย 5 tuberculin unit (TU)
ของ PPD มาตรฐาน ถ้าให้ผลบวกมีขนาดรอยนูน 10 มิลลิเมตร
ภาพถ่ายรังสีปอด
วัณโรคของเด็กมีกอยู่ในกลุ่ม smear-negative pulmonary TB มักเป็นชนิด
ปฐมภูมิ ไม่มีโพรง ไม่ไอรุนแรง พบเชื้อในเสมหะน้อย จึงต้องส่งตรวจดูดน้ำจากกระเพาะอาหาร
การย้อมสีทนกรด
การวินิจฉัยชิ้นเนื้อ จากต่อมน้ำเหลือง เยื่อหุ้มปอด
การตรวจ CT MRI
จากน้ำล้างกระเพาะ (gastric wash)
จะต้องทำตอนเช้า (early morning) ก่อนผู้ป่วยจะลุกขึ้นล้างหน้า แปรงฟัน กินอาหารหรือทไกิจกรรมใดๆ เป็นเวลา 3 วันติดต่อกัน
ใช้ NG tube 8-FR ใส่ผ่านจมูกเพื่อทำ gastric aspirate (ไม่ใช่ lavage) ดูด gastric content ด้วยsyringe ขนาด 10 ซีซี ดูดน้ำให้ได้มากท่สี ดุ แล้วใส่ในขวดซึ่งมี buffer คือ sodium bicarbonate 3 ml
ควรส่ง specimens ภายใน 4 ชั่วโมง เพื่อส่งทำ AFB stain และ culture และอาจขอท า PCR ด้วยระหว่างรอส่งให้เก็บ specimen ไว้ในตู้เย็น การท า TT (PPD test ) ในผู้ป่ วยท่ตี ิดเช้ือวัณโรคแต่ไม่มีอาการ
PPD test
• ยังมีประโยชน์ในการวินิจฉัย LTBI, TB disease ในเด็ก (ผู้ใหญ่มีประโยชน์น้อยมาก)
• มีทั้ง False positive และ False negative
• ควรทดสอบโดยผู้มีความชไนาญในการฉีดและอ่านผล
• Mantoux Test เป็นวิธีการทดสอบที่เป็นมาตรฐาน
การแปลผล TT (PPD test )
0 - 4 mm. ≈ NEGATIVE (uninfected mycobacterium orTB infection ?, TB disease ?)
5 – 9 mm. ≈ DOUBTFUL. (BCG, nontuberculousmycobacterium or TB infection ?, TB disease ? )
> 10 mm. ≈ POSITIVE (BCG, TB infection, TB disease)
การรักษา
Combine drug อย่างน้อย 3 อย่าง
(pyrazinamide,streptomycin,rifampin,isoniacid,ethabutol) กินยาต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน
-เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี TT+ve ให้ INH นาน 2-4 เดือน
-เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี วัณโรค
แยกผู้ป่ วย 1-2 เดือนจนเสมหะไม่พบเชื้อ
อาหารโปรตีนสูง วิตามินสูง
Rest
วัคซีนBCG
ไข้เลือดออก
Dengue hemorrhagic fever
:star:
เป็นโรคติดเชื้อโดยยุงลายบ้าน :Aedes aegypti
เชื้อไวรัสเดงกี เป็น single stranded RNA มี 4 serotypes : DEN1 , DEN2 , DEN3 , DEN4
มี antigen บางชนิดร่วมกันเมื่อติดเชื้อแล้วจะมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อชนิดนั้นตลอดชีวิต และจะมี
ภูมิคุ้มกันต่อไวรัสเดงกีอีก 3 ชนิดในช่วง6-12 เดือน
ไวรัสทั้ง 4 serotypes สามารถทำให้เกิด DF , DHF ได้
การติดเชื้อซ้ำ(secondary infection) เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญ
ไข้เลือดออกเดงกี
Dengue hemorrhagic fever :DHF
การด าเนินโรคแบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะไข้สูง (febrile stage) ส่วนใหญ่ไข้สูงลอย T> 38.5๐C 2-7 วัน
อาจปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา
อาจมีเบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้องด้วย
ระยะตับโตหรือใกล้ไข้ลงจะปวดชายโครงขวา
มักมีหน้าแดง ส่วนใหญ่ไม่มีน้ำมูกไหลหรือไอ
ระยะวิกฤต/ช็อก (critical stage) ไข้ลดลง วันที่ 4-7 ของโรค
เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสมา ซึ่งพบทุกราย โดยระยะรั่ว 24-48 ชั่วโมง
รุนแรง มีการไหลเวียนล้มเหลว จากพลาสมารั่วไปช่องเยื่อหุ้มปอด/ช่องท้องมาก เกิด hypovolemic shock
อาการกระสับกระส่าย มือเท้าเย็น pulse pressure แคบ < 20 mmHg (ปกติ30-40 mmHg)
ส่วนใหญ่รู้สติดี พูดรู้เรื่อง กระหายน้ำ อาจปวดท้องกะทันหันก่อนเข้าสู่ภาวะช็อก
ระยะช็อก(ต่อ)
ระหว่างเกิดภาวะ shock พบการเปลี่ยนแปลงสาคัญ 2 ประการ
มีการรั่วของพลาสมา ซึ่งนำไปสู่ hypovolemic shock
Hct. เพิ่มทันทีก่อนช็อก และยังคงสูงในช่วงมีการรั่ว/ช็อก
มีน้ำในช่องปอดและช่องท้อง
ระดับโปรตีนและอัลบูมินในเลือดต่าลงในช่วงที่มีการรั่วของพลาสมา
Central venous pressure (CVP) ต ่า
มีการตอบสนองต่อการรักษาด้วยการให้ IVF(crystalloid & colloid)
ระดับperipheral resistance เพิ่มขึ้นเห็นได้จาก PP แคบ โดยมี systolic pressureสูงขึ้น และมี peripheral resistance เพิ่มขึ้น
ระยะฟื้ นตัว (convalescent stage) การดูดกลับของพลาสมาเข้าสู่หลอดเลือด กลับสู่สภาพปกติภายใน 2-3 วัน
ผู้ป่วยที่ไม่ช็อก เมื่อไข้ลงก็จะดีขึ้น
ผู้ช็อก รักษาถูกต้อง เมื่อการรั่วของพลาสมาหยุด Hct. ลงมาคงที่ชีพจรช้าลงและแรงขึ้น BP ปกติ PP กว้าง จำนวนปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น
อาการดีชัดเจน อาจพบ bradycardia
อาจมี confluent petechial rash ลักษณะวงกลมเล็กๆสีขาวของผิวหนังปกติท่ามกลางผื่นสีแดง
Dengue Shock Syndrome : DSS
ชีพจรเบาเร็ว
Pulse pressure แคบ < 20 mmHg โดยไม่มีhypotension
Poor capillary refill > 2 วินาที
มือ เท้าเย็นชื้น กระสับกระส่าย
ความรุนแรงของไข้เลือดออกเดงกี
Grade I : positive tourniquet test / easy bruising
Grade II : มีเลือดออก เช่น มีจุดเลือดออกตามตัว มีเลือดก าเดาอาเจียน/ถ่ายอุจจาระเป็ นเลือด/สีด า Hct เพิ่มมากกว่าร้อยละ20 BPยังปกติ
Grade III : pt.shock มีชีพจรเบาเร็ว pulse pressure แคบ / BP ต่ำ/ตัวเย็น เหงื่อออก กระสับกระส่าย
Grade IV : ช็อครุนแรง วัด BP / pulse ไม่ได้ไข้เลือดออกเดงกี
เกณฑ์การวินิจฉัย DF :WHO
Probable case : มีอาการไข้อย่างกะทันหันร่วมกับอาการอย่างน้อย 2 ข้อคือ
ปวดศีรษะ
ปวดกระบอกตา
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ปวดข้อ/ปวดกระดูก
ผื่น
เลือดออก คือ positive tourniquet test, petechiae , เลือดกําเดา
ตรวจ CBC : WBC ตํ่า(<5,000) และมี HI antigen > 1,280
หรือ positive IgM/IgG ELISA test
การรักษา
ระยะไข้สูง ให้ยาลดไข้เมื่อมีไข้สูงเกิน 38.5 องศาเซลเซียส ห้ามให้แอสไพริน มีฤทธิ์ต้านการรวมตัวของเกร็ดเลือด ถ้าอาเจียนอาจให้ยาระงับการอาเจียนและให้ ORS น้อยๆบ่อยๆ
ระยะช็อค มุ่งแก้อาการช็อคและอาการเลือดออก ให้สารน้ำไม่ควรให้นานเกิน 24-48 ชม. โดยให้
Crystalloid solution เป็นน้ำยาที่ประกอบด้วยโมเลกุลของสารละลายที่อยู่ในน้ำหรือแลกโทส5%DNSS , 5%DLR ในเด็กโต ส่วนในเด็กเล็ก น้อยกว่า 1 ปีให้ใช้ 5% DN/2 ในระยะช็อกรุนแรงให้ 0.9% NSS เพราะอันตราที่มากกว่า 10 มล./กก./ชม. อาจทำให้เกิดน้ำตาลในเลือดสูงได้ เริ่มที่10-20 มล./กก./ชม. จนสัญญาณชีพดีขึ้น จากนั้นปรับความเร็วตามความดันโลหิต15,10,5 มล./กก./ชม.
Colloidal solution เป็นน้ำยาที่มีส่วนประกอบที่มีโมเลกุลใหญ่ละลายในน้ำใช้ในผู้ป่วย เกรด3,4 ที่ได้รับ Crystalloid solution ขนาด 10 มล./กก./ชม. จำนวน 2 ครั้งแล้วไม่ดีขึ้นยังอยู่ในภาวะช๊อก
การพยาบาล
การเช็ดตัวลดไข้
การให้ ORS น้อยๆบ่อยๆ
อาหารย่อยง่าย
การท าความสะอาดร่างกาย
การบันทึกสัญญาณชีพทุก 15-30 นาที
การเจาะ Hct ทุก 4-8 ชั่วโมง
การดูผลเกร็ดเลือด ถ้า Hct สูง Plat. ต่ำ เป็นสัญญาณอันตราย
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดำสังเกตภาวะหอบ หายใจลำบาก การสังเกตปัสสาวะ2 มล./กก./ชม.
โรคติดเชื้อ
HIV/AIDS ในเด็ก
:star:
โรคเอดส์ คือโรคท่เี กดิ ภาวะภมู ิคุ้มกนั บกพร่องหรือเส่อื มไปเพราะถูกทาลาย
โดยเชื้อไวรัสท่เี รียกว่า HIV (human immunodeficiency
virus)จัดอยู่ในสายพันธุ์ Lentiviridae ในกลุ่ม retrovirus
ระยะฟักตัวประมาณ 2-3 เดือน แสดงอาการภายใน 5 ปี
การติดต่อ
-จากแม่สู่ลูก การกินมมารดา
-การได้รับเชื้อ ได้รับเลือด
การมีเพศสัมพันธ์
อาการและอาการแสดง
WHO โรคเอดส์ในเด็ก มี Major อย่างน้อย2 ข้อ และ Minor signs อย่างน้อย 2 ข้อ
หลักการวินิจฉัย pediatric AIDS ตามอาการ
ต้องมีอย่างน้อย 2 major sign & 2 minor sign
Major sign
Weight loss or failure to thrive
Chronic diarrhea > 1 mo
Chronic fever > 1 mo
Persistent of severe lower respiratory tract infection
AIDS : Acquired Immune
Deficiency Syndrome
AZT (Zidovudine) ยับยั้งการทำงานของ reverse transcriptaseenzyme ของเชื้อเอชไอวี ทำให้เด็กเจริญอาหาร การเติบโต พัฒนาการดี ตับ ม้ามเล็กลง อายุยืน ผลข้างเคียง เลือดจาง เม็ดเลือดขาวต่ำ คลื่นไส้อาเจียน อ่อนเพลียกล้ามเนื้ออ่อนแรง ตับอักเสบ และ Ray‟s like syndrome
Didanosine/ddI ปวดปลายประสาท ตับอ่อนอักเสบ ท้องเดิน amylaseและ uric acid ในเลือดสูงขึ้น
การป้องกันโรคปอดอักเสบ Pneumocystic carinii รุนแรง ตายสูง มักให้Trimethoprim-Sulfamethoxazole ชนิดรับประทานในเด็กอายุมากกว่า 5 ปี ยาชนิดนี้เข้าปอดได้ดี ราคาถูก อาการข้างเคียง คือ ผื่น ไข้ และเม็ดเลือดขาวตํ่า Stevens-Johnson syndrome
การป้องกัน
ให้ยาต้านเชื้อไวรัส คือ AZT โดยให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานทุก 12 ชม.เมื่ออายุครรภ์ครบ 32-34
สัปดาห์ และเพิ่มเป็นทุก 3 ชม.เมื่อเจ็บครรภ์จนกระทั่งคลอด
เลือกท าการผ่าตัดออกทางหน้าท้องก่อนเจ็บครรภ์คลอดและน้ำเดิน
ลดให้นมแม่ ให้นมผสมแทน
การดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การส่งเสริมโภชนาการ
การส่งเสริมพัฒนาการ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 2 แบบ
-ให้BCG (ไม่ให้ในผู้ป่ วยท่มี ีอาการของโรคเอดส)์ และ IPV แทน OPV
-ไม่ให้ทั้งสองชนิด (ACIP)
โรคมือ เท้า และปากเปื่อย
Hand Foot Mouth Disease
:star:
พยาธิวิทยา
เกิดจากเชื้อกลุ่ม enterovirus ซึ่งอยู่สายพันธุ์ ของ T6Npicornavirus เชื้อที่พบเป็นสาเหตุบ่อยที่สุด คือ coxsackieA16 รองลงมาคือ enterovirus 71
การติดต่อ
ทาง fecal-oral
Respiratory route
ระยะฟักตัว 2-6 วัน
อาการและอาการแสดง
เริ่มจากการมีไข้ต่ำๆ เจ็บคอ มีผื่นขึ้น
ผื่นเริ่มจากจุดนูนแดงเล็กๆ เจ็บ ต่อมาเป็นตุ่มนํ้าขนาด 3-7 mm. ไม่เจ็บแห้งใน 1 wk. มีแผลหรือผื่นในช่องปาก : ลิ้น เยื่อบุช่องปาก เหงือก เพดาน ริมฝีปาก เป็นตุ่มใสขนาด 1-3 mm. แล้วแตกเป็นแผล
อาการเจ็บปาก ตรวจร่างกายจะพบมีรอยโรคในบริเวณปาก มือ และเท้าตามมา
ระบบทางเดินหายใจ อาจมีอาการเหมือนไข้หวัด ไอ มีน้ำมูกใส เจ็บคอ
ทางผิวหนัง
ทางระบบประสาท เช่น สมอง เยื่อหุ้มสมอง หรือเนื้อสมองอักเสบ
ทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาการท้องเสีย ถ่ายเหลวเป็นน้ำเล็กน้อย ปวดหัวอาเจียน
ทางตา มักพบเยื่อบุตาอักเสบ (chemosis and conjuntivitis)
ทางหัวใจ เช่นสามารถทำให้เกิดกล้ามเนื้อหรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่าอาการอาจมีต้ังแต่อาการเล็กน้อยไปจนถึงอาการหรือภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
การติดต่อ
การสัมผัสโดยตรงกับสารคัดหลั่งจากจมูก , ลําคอ และน้ำจากในตุ่มใส(respiratory route)
อุจจาระของผู้ป่วยซึ่งมีเชื้อไวรัสอยู่ (fecal - oral route )ช่วงที่แพร่กระจายมากที่สุด คือ ในสัปดาห์แรกที่ผู้ป่วยมีอาการ จนกว่ารอยโรคจะหายไป ยังพบเชื้อในอุจจาระผู้ป่วยต่อได้อีกประมาณ 2-3 สัปดาห์
เชื้อเอนเทอโรไวรัสสามารถทนสภาวะกรดในทางเดินอาหารมนุษย์ได้และมีชีวิตอยู่ในอุณหภูมิห้องได้ 2-3 วัน
ไม่สามารถติดต่อจากคนสู่สัตว์ หรือจากสัตว์สู่คน
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย
โดยทั่วไปมีอาการน้อย
ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว และเจ็บปาก
ผู้ป่วยบางรายอาจพบภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้
การรักษา
รักษาแบบประคับประคองและบรรเทาอาการ หากไม่มีภาวะแทรกซ้อน เป็นโรคที่สามารถหายได้เอง โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 7 วัน ลดอาการเจ็บปวด จากแผลในปาก โดยใช้ยาชาป้ายบริเวณท่เี ป็นแผลก่อนรับประทานอาหาร
ในกรณีที่มีภาวะแทรกซ้อนให้รักษาตามอาการเป็นส่วนใหญ่หลังจากการติดเชื้อผู้ป่วยจะมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสที่ก่อโรค แต่อาจเกิดโรคมือ เท้า ปาก ซํ้าได้จาก enterovirus ตัวอื่นๆ
โรคไข้ซิก้า
(Zika fever)
อาการ ไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ผื่น ตาแดง ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ แต่อาการเหล่านี้สามารถทุเลาลงภายในเวลา 2-7 วัน หากได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงที ไม่รุนแรงเท่าโรคไข้เลือดออก
การติดเชื้อจากแม่สู่ลูกขณะต้ังครรภ์หรือคลอด กรณีที่มีเชื้อไวรัสชนิดนี้อยู่อาจส่งผ่านไวรัสไปสู่ทารกในครรภ์ ทําให้ทารกเสี่ยงต่อภาวะศรีษะเล็ก แต่กำเนิด (Microcephaly) และโรคทางสมองที่ร้ายแรง เนื่องจากสมองของทารกหยุดพัฒนาตั้งแต่ในครรภ์ หรือหยุดพัฒนาเมื่อคลอด จึงทำให้ศีรษะมีขนาดเล็กลงตามสมองไปด้วย ทารกที่เกิดภาวะนี้จะมีพัฒนาการช้าในทุกด้าน มีปัญหาทางด้านการได้ยิน การมองเห็น การเคลื่อนไหวร่างกาย หรือการรับประทานอาหาร ฯลฯ
การแพร่เชื้อผ่านทางเพศสัมพันธ์ เชื้อไวรัสซิกา สามารถอยู่ในนํ้าอสุจิได้นานกว่าของเหลวอื่น ๆ ในร่างกาย เช่น สารคัดหลั่งภายในช่องคลอด ปัสสาวะ และในเลือด
การแพร่เชื้อผ่านการบริจาคเลือด ผู้รับบริจาคเลือดพบโอกาสเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อไวรัสชนิดนี้จากการรับบริจาคเลือดจากผู้รับบริจาค
การรักษาโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ในปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนหรือยาในการรักษาโรคนี้โดยเฉพาะ แพทย์จะทำการรักษาตามอาการของผู้ป่วยที่พบเป็นหลัก นอกจากนี้ยังแนะนาให้ผู้ป่วยปฏิบัติตามคาแนะนำต่อไปนี้
ดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
รับประทานยาพาราเซตามอล ในกรณที่เป็นไข้หรือมีอาการปวด
ห้ามรับประทานยาแอสไพริน ยาบรรเทาอาการปวดหรืออักเสบในกลุ่ม NSAIDs เพราะอาจทำให้เกิดเลือดออกในอวัยวะได้ง่ายขึ้น
สำหรับหญิงตั้งครรภ์ควรเข้ารับการฝากครรภ์ และพบแพทย์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับทารกอย่างใกล้ชิด โดยมีการอัลตร้าซาวน์เป็นระยะ เพื่อดูความผิดปกติของทารกในครรภ์ หรือแพทย์อาจพิจารณาการตรวจอื่นๆเพิ่มเติม ในกรณีที่แม่อยู่ในช่วงระหว่างการให้นมบุตร ทารกสามารถรับนมแม่ได้ตามปกติ เนื่องจากในน้ำนมแม่มีสารอาหารและภูมิคุ้มกันที่สำคัญต่อทารก อีกทั้งยังไม่พบข้อมูลมากพอยืนยันเรื่องการแพร่เชื้อชนิดนี้ผ่านทางการให้นมแม่
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อไวรัส
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรคผิวหนังจากเชื้อปรสิต
โรคผิวหนังอักเสบ