Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 บทบาทพยาบาลในการรักษาเบื้องต้น - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
บทบาทพยาบาลในการรักษาเบื้องต้น
ความสําคัญของการรักษาโรคเบื้องต้น
ผู้รับบริการ
ป้องกันความรุนแรงและความพิการ
ลดค่าใช้จ่าย ประหยัดเวลา
ได้รับการวินิจฉัยถูกต้อง รักษาทันทวงที
สะดวก เข้าถึงบริการได้ง่าย
ด้านเศรษฐกิจ&สังคม
ไม่เสียแรงงาน ลดความแออัดของ รพ.
ประหยัดงบประมาณของรัฐบาล
การควบคุมมาตรฐานการปฏิบัติการรักษาโรคเบื้องต้น
ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรเวชปฏิบัติที่สภาการพยาบาลรับรอง และได้รับประกาศนียบัตรฯ จากสถาบันการฝึกอบรม
ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ผ่านการอบรมหลักสูตร การพยาบาลเวชปฏิบัติกับสภาการพยาบาล
มีประสบการณ์ในการปฏิบัติ ไม่น้อยกว่า 2 ปี
มีการเพิ่มพูนความรู้ และทักษะในการรักษา โรคเบื้องต้นให้ทันสมัยอยู่เสมอ
ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ ชั้นหนึ่ง
กระบวนการวินิจฉัยโรคเบื้องต้น
ตั้งสมมติฐาน
รวบรวมและ วิเคราะห์ ข้อมูล
การวินิจฉัยขั้นต้น
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
สืบค้นเพิ่มเติม
ซักประวัติสุขภาพ
ตรวจร่างกาย
ระบุปัญหา
ตรวจร่างกาย
การวินิจฉัยครั้งสุดท้าย
ส่งต่อหากปัญหาซับซ้อน
ให้การรักษา
อาการผู้ป่วย
ซักประวัติสุขภาพ
การรักษาโรค(Treatment)
การรักษาแบบจําเพาะเจาะจง (Specific Treatment) : การรักษาที่จําเพาะกับ สาเหตุที่ทราบแน่ชัดว่าเจ็บป่วยมาจากสาเหตุใด
การรักษาแบบประคับประครอง (Supportive Treatment) : เป็นการรักษาเพื่อให้ รอดปลอดภัยหรือพ้นภาวะวิกฤติ
การรักษาตามอาการ (Symptomatic Treatment) : เป็นการรักษาเพื่อบรรเทา อาการเจ็บป่วยตามปัญหาของผู้รับบริการ ไม่ได้รักษาที่ต้นเหตุ
การรักษาเพื่อบรรเทาอาการ (Palliative Treatment) : เป็นการรักษาไม่ให้ทุกข์ ทรมาน ในผู้ป่วยที่ระยะสุดท้าย หรือป่วยเป็นโรคที่รักษาไม่ได้
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การกระทําต่อร่างกาย จิตใจ จัดสภาพแวดล้อม เพื่อการแก้ปัญหา บรรเทา และการฟื้นฟู
การกระทําตามวิธีที่กําหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้น และการให้ภูมิคุ้มกันโรค
สอน แนะนํา ให้คําปรึกษา และการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
ช่วยเหลือแพทย์กระทําการรักษาโรค
ทักษะการดูแลโดยให้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
2.ทําความเข้าใจกับความเป็น “คน” ของผู้ป่วย ได้แก่
ตัวผู้ป่วย, ครอบครัว คณาญาติ ที่อยู่และสิ่งแวดล้อม
3.หาแนวทางร่วมกันในการดูแลสุขภาพ ลําดับความสําคัญของปัญหา, กําหนดเป้าหมายการรักษาร่วมกัน, พยาบาลและผู้ป่วยมีบทบาทร่วมกันในการดูแลสุขภาพ
1.สืบค้นทั้งโรค (disease) และความเจ็บป่วย (illness) ไปพร้อมๆกัน วินิจฉัย, เข้าใจความเจ็บป่วย ได้แก่ ความคิด อารมณ์ความรู้สึก ความคาดหวัง
4.ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและให้การสร้างเสริมสุขภาพ
สร้างเสริม ป้องกัน ค้นหาโรค ลดความสูญเสีย ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคและความเจ็บป่วย
5.ส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย
สัมพันธภาพ ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการรักษา
6.ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง เวลา, แหล่งข้อมูล, ทีมงานและเครือข่ายในการดูแลมีจํากัด
หัตถการต่อไปนี้จะกระทําโดยพยาบาลที่ผ่านการอบรม และได้รับ ใบรับรองจากสภาการพยาบาล
การผ่าตัดตาปลา
การเลาะ Cyst
การฝังและถอดยาคุม(Nor plant)
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี VIA
การใส่และถอดห่วง(IUD)
การจี้ปากมดลูกด้วยความเย็น (Cryotherapy)
การจําแนกผู้รับบริการ จําแนกออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
ได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม
ต้องวินิจฉัยแยกโรค และให้การรักษาโรคเบื้องต้น
ช่วยเหลือเบื้องต้น
หัตถการที่อยู่ในขอบเขต ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ พยาบาลชั้นหนึ่ง สามารถปฏิบัติได้
การทําแผล, การตกแต่งบาดแผล, การผ่าฝี, การจี้หูด, การถอดเล็บ, การสวนกระเพาะอาหาร, การสวนกระเพาะปัสสาวะ (เป็นครั้ง คราว/ การสวนคา), การเย็บแผล, การตัดไหม, การเลาะ cyst ในบริเวณที่ไม่เป็นอันตราย, การล้างตา, การตรวจหลังคลอด และการทํา pap smear
นางสาวศิญาพร เถาวัลย์ราช
รหัสนักศึกษา 611410009-8
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4
การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง (สภาการพยาบาล, 2551)
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
โรคหลอดเลือดหัวใจตีบเฉียบพลัน
โรคเอดส์
โรคหลอดเลือดสมอง
โรควัณโรค
10.โรคข้อเสื่อม
โรคเกาต์
11.โรคไทรอยด์เป็นพิษ
3.ภาวะระดับไขมันในเลือดผิดปกติ
โรคความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
12.โรคหืด