Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต, นางสาวพัชรีวรรณ…
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ
และการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
(Hypertensive crisis)
ความดันโลหิตสูง
ค่าความดันโลหิตซิสโตลิก ตั้งแต่ 140 มิลลิเมตรปรอท และความดันโลหิตไดแอสดตลิกตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอท ในผู้ใหญ่อายุ 18 ปีขึ้นไป
สาเหตุ
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทําให7ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกําเนิด ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
Acute or chronic renal disease
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที (Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
อาการและอาการแสดง
น้ําท่วมปอด (Pulmonary edema)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
ความดันโลหิตสูงขั้นวิกฤตที่ทําให้เกิดอาการทางสมอง hypertensive encephalopathy จะมีอาการ ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
การซักประวัติ
ซักประวัติการเป็นโรคประจําตัว
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคความดันโลหิตสูง
การตรวจร่างกาย
พบ cotton-wool spots and hemorrhages
retina nerves ถูกทําลาย
มีการแตกของ retina blood vessels
Chest pain
บอกอาการของ acute coronary syndrome
aortic dissection
พบ Papilledema
ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressureตรวจ retina
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจการทํางานของไต
Glomerular filtration rate (eGFR)
Creatinine
ค่าอัลบูมินในปัสสาวะ
ตรวจหาความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12-lead ECG)
chest X-ray
ตรวจ CBC
microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
การรักษา
ให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดํา
ผู้ป่วยHypertesive crisisต้องให้การรักษาทันทีใน ICU
การพยาบาล
ในระหว่างได้รับบยา
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไต
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ
Cardiacsymptoms
myocardial ischemia
dysrhythmias
aortic dissection
Acute kidney failure
BUNCr จะมีค่าขึ้นสูงได้
Neurologic symptoms
สับสน confusion
coma
stupor
stroke
seizures
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทํากิจกรรม
การจัดท่านอนให้สุขสบาย การปฏิบัติกิจวัตรประจําวันต่างๆ
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ เช่น ปิดไฟหัวเตียง เพื่อส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ให้ความรู้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
(Acute Heart Failure (AHF))
การพยาบาล
การลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
การเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
การลดการทํางานของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับการไหลเวียนเลือด
ดูแลการทํางานของเครื่องกระตุ้นจังหวะหัวใจ
ดูแลให้ได้รับสารน้ําและอาหารอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับการตอบสนองตามความต้องการพื้นฐาน
ดูแลติดตามการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ประเมินสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลติดตามและบันทึกค่า CVP, PCWP
สังเกต/บันทึกปริมาณปัสสาวะทุก 1ชั่วโมง (keep urine output >= 0.5 ml/kg/hr.)
จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการนอนหลับพักผ่อน
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วยโดยประเมินความรู้สึกและปัญหาต่างๆ
สอนและแนะนําเทคนิคการผ่อนคลายที่สอดคล้องกับความสนใจของผู้ป่วย
กระตุ้นและส่งเสริมให้ครอบครัวญาติหรือบุคคลใกล้ชิดมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
อาการและอาการแสดง
Pulmonary edema
Cardiogenic shock
Hypertensive acute heart failure
High output failure
Acute decompensated heart failure
Right heart failure
สาเหตุ
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
ภาวะหัวใจวาย
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
กลไกการไหลเวียนของเลือดผิดปกติเฉียบพลัน
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความผิดปกติอื่นๆ
หลอดเลือดปอดอุดตันเฉียบพลัน
การรักษา
การใช้ยา
ยาขยายหลอดเลือด เช่น sodium nitroprusside (NTP)
ยาที่ใช้ในช็อค เช่น adrenaline, dopamine, dobutamine, norepinephrine (levophed)
ยาบรรเทาอาการเจ็บหน้าอก เช่น morphine
ยาละลายลิ่มเลือด เช่น coumadin
ยาขยายหลอดเลือดหัวใจ เช่น nitroglycerine/isodril(NTG)
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ เช่น amiodarone
ยาเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ เช่น digitalis (digoxin)
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด เช่น aspirin, plavix, clopidogrel
การรักษาสาเหตุ
การเปลี่ยนลิ้นหัวใจในโคโรนารี
การรักษาภาวะติดเชื้อ
การขยายหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี
การดึงน้ําและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย
การลดการทํางานของหัวใจ
ความหมาย
การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ หรือการเสียสมดุลของpreload และafterloadโดยอาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจเดิม
การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรวดเร็วจากการทํางานผิดปกติของหัวใจทั้งการบีบตัวหรือการคลายตัวของหัวใจ
การประเมินสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
biochemical cardiac markers
ABG
การตรวจพิเศษ
echocardiogram
CT
CXR
coronary artery angiography (CAG)
การซักประวัติและตรวจร่างกายเพื่อประเมินอาการทางคลินิกที่เกี่ยวข้อง
อาการหอบเหนื่อย
ภาวะบวม
อาการเจ็บหน้าอก
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
(Cardiac arrhythmias : Sustained AF,VT,VF)
Atrial fibrillation (AF)
ประเภทของ AF
Permanent AF
ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปี
โดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF
AFที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Persistent AF
AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน
หรือหายได้ด้วยการรักษาด้วยยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Lone AF
AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี
ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
Paroxysmal AF
AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา
หรือการช็อคไฟฟ้า(Electrical Cardioversion)
สาเหตุ
โรคหัวใจรูมาติก
โรคหัวใจขาดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
หลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery)
hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
ใจสั่น
คลําชีพจรที่ข้อมือได้เบาๆ
ความหมาย
ทำให้ atrium บีบตัวแบบสั่นพริ้ว และคลื่นไฟฟ้าไม่สามารถผ่านไปยัง ventricle ได้ทั้งหมด
ส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่และไม่สม่ำเสมอและไม่ประสานกัน
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว เกิดจากจุดปล่อยกระแสไฟฟ้า (ectopic focus)ใน atrium
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin, beta-blocker, calcium channel blockers, amiodarone
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทํา Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง(Radiofrequency Ablation) ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
Ventricular tachycardia (VT)
ความหมาย
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ventricle เป็นจุดกําเนิดการเต้นของหัวใจ ในอัตราที่เร็วมากแต่สม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
มีกําเนิดอาจมีตําแหน่งเดียวหรือหลายตําแหน่ง
ประเภทของ VT แบ่งเป็น
Sustained VT
VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที ซึ่งมีผลทําให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT
VT ที่ลักษณะของ QRS complexเป็นรูปแบบเดียว
Nonsustained VT
VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Polymorphic VT หรือ Torsade
VT ที่ลักษณะของ QRS complexเป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ พิษจากยาดิจิทัลลิส (Digitalis toxicity)
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
โรคหัวใจรูห์มาติก (Rheumatic heart disease) ถูกไฟฟ้าดูด
กล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง (Myocardial infarction)
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น
ความดันโลหิตตำ่
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในผู้ป่วยที่เกิดVTและคลําชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลงให้เตรียมผู้ป่วยในการทํา synchronized cardioversion
คลำชีพจรประเมินสัญญาณชีพระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียวจํานวนปัสสาวะ เพื่อประเมินภาวะเลือดไปเลี้ยงสมอง และอวัยวะสําคัญลดลง
ทําCPRถ้าหัวใจหยุดเต้น
นําเครื่องDefibrillatorมาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันทีและเป็นหลอดเลือดดําเพื่อให้ยาและสารน้ํา
Ventricular fibrillation (VF)
ความหมาย
เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่ำเสมอ
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกําเนิดการ เต้นของหัวใจตําแหน่งเดียวหรือหลายตําแหน่ง
สาเหตุ
Hypoxia
Hydrogen ion (acidosis)
Hypovolemia
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถ สูบฉีดโลหิตออกมาได้และเสียชีวิต
ไม่มีชีพจร
หมดสติ
การพยาบาล
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยว่ามียาชนิดใดที่มีผลต่อ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง (Tissue perfusion) ลดลง
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด เพื่อหาสาเหตุนําของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษา
ทํา CPRร่วมกับทีมรักษา
ภาวะช็อก
(Shock)
ระยะของช็อก
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย (Decompensated shock)
ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้(Irreversible shock)
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก (Compensated shock)
ประเภทของช็อก
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว(Distributive shock, vasogenic / vasodilatory shock, Inflammatory shock)
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ(Septic shock)
ภาวะช็อกจากการทํางานผิดปกติของต่อมหมวกไต(Hypoadrenal /adrenocortical shock)
ภาวะช็อกจากการแพ้(Anaphylactic shock)
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ(Obstructive shock)
ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว(Cardiogenic shock)
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท(Neurogenic shock)
ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ํา(Hypovolemic shock)
ความหมาย
เป็นภาวะที่เกิดความผิดปกติทางสรีรวิทยาส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อทั่วร่างกายลดต่ำลงกว่าความต้องการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยื่อและอวัยวะ
นําไปสู่ความผิดปกติของการทํางานของอวัยวะต่างๆจากการขาดออกซิเจนในระดับเซลลT (Cellular dysoxia)
อาการและอาการแสดง
ไตและการขับปัสสาวะ
ทางเดินอาหาร
หายใจ
เลือดและภูมิคุ้มกัน
หัวใจและหลอดเลือด
ต่อมไร้ท่อ
ประสาทส่วนกลาง
การรักษา
การแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
การรักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก เช่น การให้ยาปฏิชีวนะ
การแก้ไขระบบไหลเวียนโลหิตให้ได้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีเพียงพอ ความดันโลหิตเฉลี่ย (MAP)มากกว่าหรือเท่ากับ 65 mmHg
การแก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติ เพื่อหาสาเหตุของภาวะช็อกที่เกิดจากการเจ็บป่วย
การตรวจพิเศษ
กิจกรรมการพยาบาล
การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การแก้ไขสาเหตุที่ทําให้เกิดภาวะช็อก
การป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยและครอบครัวต่อภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้น
เตรียมความพร้อมก่อนการย้ายออกจากหอผู้ป่วยวิกฤต
ให้ข้อมูล อธิบายเหตุผลก่อนทํากิจกรรมการพยาบาล
นางสาวพัชรีวรรณ ใจมา 6101210323 เลขที่14 sec.B